Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิชาพรรการเมือง - Coggle Diagram
วิชาพรรการเมือง
พรรคการเมือง
ความหมาย
องค์ประกอบ
มีคณะบุคคล หรือสมาคม
มีความคิดรวบยอด เพื่อแลกเปลี่ยนแนวความคิด
มีสมาชิกพรรค ที่มีจุดมุ่งหมายสูงสุด เพื่อเข้าไปเป็นรัฐบาล
ลักษณะ
เป็นคณะบุคคลที่รวบรวมกันเป็นองค์การ
เป็นการรวมตัวกันตามแนวความคิดเห็นหรือหลักการบางอย่างที่เห็นพ้อง
ต้องกัน
มีการกําหนดประเด็นปัญหาและนโยบาย
มีการคัดเลือกบุคคลเข้าสมัครรับเลือกตั้ง
มีจุดมุ่งหมายที่จะเข้าไปควบคุมการดําเนินงานและนโยบายของรัฐบาล
หน้าที่
เสนอนโยบาย ชี้ประเด็นปัญหาและแนวทางแก้ไข
สื่อกลางระหว่างประชาชนกับองค์การของรัฐ
จัดตั้งรัฐบาล
ในฐานะพรรคฝ่ายค้าน
ปลุกระดมมวลชนให้เข้ามีส่วนร่วมในทางการเมือง
เลือกสรรบุคคลเข้าสมัครรับเลือกตั้ง
บทบาท
ทําให้การเลือกตั้งเป็นไปด้วยดี และมีประสิทธิภาพ
ผดุงรักษาอํานาจในการปกครองให้สืบต่อเนื่องกัน
และการถ่ายทอดอำนาจเป็นไปอย่างถูกต้องตามครรลอง
ประสานประโยชน์ของกลุ่มชนในสังคม
เป็นเครื่องมือในการควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน
ช่วยพัฒนาการเมือง
ความสำคัญ
ช่วยสร้างความชอบธรรมในการใช้อํานาจปกครองของรัฐบาล
เสนอนโยบาย ชี้ประเด็นปัญหาและแนวทางแก้ไข
สื่อกลางระหว่างประชาชนกับองค์การของรัฐ
จัดตั้งรัฐบาล
ในฐานะพรรคฝ่ายค้าน
ปลุกระดมมวลชนให้เข้ามีส่วนร่วมในทางการเมือง
กําเนิดของพรรคการเมือง การจําแนกระบบพรรค
การเมือง และกลไกการบริหารพรรคการเมือง
กําเนิด
สาเหตุการเกิดพรรคการเมือง
เกิดขึ้นได้จากสาเหตุสําคัญๆ หลายประการ อธิบายในเชิงทฤษฎีได้ 3 ทฤษฎี
ทฤษฎีว่าด้วยสถาบัน
ทฤษฎีว่าด้วยประวัติศาสตร์และสถานการณ์
ทฤษฎีว่าด้วยพัฒนาการ
4 ทฤษฎีที่เกี่ยวกับพรรคการเมือง
ทฤษฎีจิตวิทยา
ทฤษฎีทางเศรษฐกิจและสังคม
ทฤษฎีอุดมการณ์หรือหลักการ
ทฤษฎีทางการจัดองค์การ
จําแนกระบบพรรคการเมือง
ระบบพรรคเดียว
ระบบสองพรรค
ระบบหลายพรรค
ระบบพรรคเด่นพรรคเดียว
กลไกการบริหารพรรคการเมือง
การจัดองคืการของพรรคการเมืองมีความสําคัญมากเพราะเป็นตัวชี้วัด
สมรรถภาพของพรรคการเมืองว่ามีความเข้มแข็ง
การจัดรูปองค์การของพรรค
กลไกของพรรค
นโยบายของพรรค
การเงินของพรรค
การประชุมพรรค
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อจํานวนพรรคการเมือง
ด้านเฉพาะของแต่ละประเทศ
ประวัติศาสตร์
ความเชื่อ วัฒนธรรม ประเพณี เชื้อชาติ
ด้านสากลที่มีอยู่ในทุกประเทศ
-ปัจจัยทางเศรษฐกิจ และสังคม
ปัจจัยทางอุดมการณ์ทางความคิด
ปัจจัยทางเทคนิค : ระบบการเลือกตั้ง
พรรคการเมืองไทย
ความเป็นมา
ลักษณะของพรรคการเมืองไทย
ปัญหาของพรรคการเมืองไทย
มิได้เป็นที่รวมบุคคลที่มีเป้าหมายและอุดมการณ์อย่างเดียวกัน
ไม่ได้ทําหน้าที่เป็นตัวแทนของประชาชนที่แท้จริง
ไม่เปิดโอกาสให้ประชาชนได้พิจารณานโยบายของพรรคอย่างจริงจัง
ไม่สามารถควบคุมพฤติกรรมของลูกพรรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มีจํานวนพรรคมากเกินไป ซึ่งมีผลต่อการเลือกตั้ง
จัดตั้งง่ายสลายไว และเป็นการรวมกลุ่มของผู้มีอาชีพนักการเมืองจํานวนน้อย
แนวทางแก้ไขพรรคการเมืองไทย
ไม่มีวิธีใดดีที่สุด
สภาพสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรมที่มีผลต่อระบบ
พรรคการเมือง
สังคม
ประวัติศาสตร์ความเป็นมา
รูปแบบการปกครอง
วัฒนธรรมและค่านิยมของประชาชน
เศรษฐกิจ
บุคคลในหน่วยเศรษฐกิจ
ผู้ผลิต (บุคคลที่ทําหน่าผลิตสินค้า หรือบริการ)
เจ้าของปัจจัยการผลิต (ที่ดิน ทุน แรงงาน เทคโนโลยี)
ผู้บริโภค (ผู้ใช้สินค้า หรือบริการ)
ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม หมายถึง ระบบเศรษฐกิจที่เอกชนสามารถมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินต่างๆ มี
เสรีภาพในการตัดสินใจว่า ผลิตอะไร ผลิตอย่างไร ผลิตเพื่อใคร
ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ
การค้นพบทรัพยากรใหม่ๆ (ทําให้มีสินค้า และบริการ มากขึ้น)
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
การสะสมทุน (ความสามารถในการออมทรัพย์ และระดับรายได้)
ทรัพยากรมนุษย์
ปัญหาเศรษฐกิจ
ปัญหาการค้ากําไรเกินควร
ปัญหาการบริโภคของคนไทย
ปัญหาการขาดดุลการค้า
ปัญหาค่านิยมของคนในสังคมไทย
ปัญหาโครงสร้างเศรษฐกิจไทย
วัฒนธรรม
ลักษณะวัฒนธรรมไทย
รักอิสรภาพ
เป็นตัวของตัวเอง
รู้สึกมักน้อย สันโดษ พอใจในสิ่งที่ตนมีอยู่
หาความสุขของชีวิต
เคารพเชื่อฟังอํานาจ
ทําให้คนอื่นยอมรับในความสําคัญของตน
สุภาพ อ่อนโยน จิตใจเอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ.2560
คุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามในการจัดตั้งพรรคการเมือง (ดูเพิ่มเติมใน พ.ร.ป.)
มีจํานวนคนไม่น้อยกว่า 500 คน
มีสัญชาติไทยโดยการเกิด หรือแปลงสัญชาติไทยมาไม่น้อยกว่า 5 ป
มีอายุไม่ต่ํากว่า 20 ปี
ไม่เป็นบุคคลต้องห้ามมิให้ใช้สิทธิสมัครรับเลือกตั้ง
ไม่เป็นสมาชิก ผู้ยื่นจดทะเบียน แจ้งการจัดเตรียมจัดตั้ง พรรคการเมืองอื่น
มีทุนประเดิมไม่น้อยกว่า 1,000,000 บาท
ผู้ร่วมจัดตั้งต้องร่วมกันจ่ายเงินเพื่อเป็นทุนประเดิม คนละไม่น้อยกว่า 1,000 บาท
แต่ไม่เกินคนละ 50,000 บาท
การสิ้นสุดสมาชิกพรรคการเมือง
ลาออก
ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้าม
ไม่ชําระค่าบํารุงพรรคการเมืองเป็นเวลา 2 ปี ติดต่อกัน
หากสมาชิกพรรคการเมืองเป็น ส.ส. ให้มีมติของพรรคโดยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 2ใน 3 ของที่ประชุมร่วมของคณะกรรมการบริหารพรรคการเมือง และ ส.ส. ที่สังกัดพรรค
การเมืองนั้น
กลุ่มผลประโยชน์
บทบาท ลักษณะ ประเภทกลุ่มผลประโยชน์
บทบาท
ใช้อิทธิพลบีบบังคับผู้ปกครอง หรือกลุ่มผู้บริหารประเทศ เพื่ออยู่เหนือนโยบาย
ของรัฐ หรือให้นโยบายของรัฐอํานวยประโยชน์ให้กับกลุ่มตน
รักษาผลประโยชน์กลุ่มตน เช่น สมาคม องค์การ กลุ่มต่างๆ
ปัจจัยแห่งความสําเร็จ
ขนาดของกลุ่ม : มากหรือน้อย ถ้ามาก โอกาสสําเร็จมาก
สถานภาพทางสังคม : กลุ่มใดมีสถานภาพทางสังคมสูงกว่า กลุ่มนั้นจะมี
อิทธิพลมากกว่า
ความสามัคคีของกลุ่ม
ภาวะความเป็นผู้นําของกลุ่ม
ลักษณะ
ลักษณะของกลุ่มผลประโยชน์สามารถแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ
แบ่งตามลักษณะของวัตถุประสงค์
แบ่งตามลักษณะของกิจกรรม
ประเภท
ประเภทกลุ่มทางเศรษฐกิจ : เป็นกลุ่มด้านอาชีพ
ประเภทกลุ่มทางสังคม : เป็นกลุมเพื่อผลประโยชน์ของกลุืมเอง และ
เพื่อสวัสดิการทางสังคม
ประเภทกลุ่มโลกทัศน์ : เป็นกลุ่มที่มีเป็าหมายเพื่อผลประโยชน์
ส่วนรวม มิใช้กลุ่มตนเอง
กลุ่มอุดมการณ
กลุ่มสื่อมวลชน