Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การถอดบทเรียนThe Big Short. - Coggle Diagram
การถอดบทเรียนThe Big Short.
ยุคที่มีปัญหาเศรษฐกิจมาหลายยุคหลายสมัย
บางยุคอาจจะกระทบประเทศไทยมากหรือน้อยตามแต่ปัจจัยที่ต้องเจอ
เช่น ยุคเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ของสหรัฐอเมริกาในปี 1929
วิกฤตการเงิน “ต้มยำกุ้ง” ของไทย (และเอเชีย) ในปี 1997
วิกฤตสินเชื่อซับไพรม์”(Subprime mortgage crisis) ของสหรัฐอเมริกาในปี 2008 จนมาถึงยุคโควิด-19
“วิกฤตสินเชื่อซับไพรม์” ของสหรัฐอเมริกาในปี 2008
ทำให้เศรษฐกิจของอเมริกา (และหลายส่วนของโลก) ต้องพังทลาย
วิกฤตดังกล่าวเป็นเหมือนสึนามิที่พัดถล่มเศรษฐกิจครั้งแรกในรอบ 100 ปี”
ทำให้บริษัทวาณิชธนกิจหลายแห่งต้องปิดตัวหรือไม่ก็ต้องรอให้รัฐเข้ามาอุ้ม, ผู้คนตกงาน ไร้บ้าน และหลายกองทุนขาดทุนย่อยยับ
ดเริ่มต้นจากตลาดอสังหาริมทรัพย์ที่เกิดภาวะฟองสบู่แตก
“ซับไพรม์” (Subprime)
ทำให้เกิดความไม่แน่นอนสำหรับนักลงทุนที่จะมาลงทุนในตลาดนี้ จึงเกิดนวัตกรรมการเงินขึ้นมาใหม่ที่เรียกว่า CDO (Collateralized Debt Obligation)
ความซับซ้อนขึ้นอีกก็ตอนเอา CDO มาปั่นใหม่ให้ซับซ้อนเพื่อนำมาเก็งกำไรในรูปแบบตราสารที่เรียกว่า synthetic CDO
เรื่องแบบนี้ ไม่ควรผูกขาดอำนาจ (authority) การเล่าเรื่องอยู่กับนักการเงิน หรือนักเศรษฐศาสตร์
ซึ่งหลาย ๆ คนในกลุ่มนี้นั่นล่ะคือต้นเหตุที่ทำให้เศรษฐกิจสหรัฐฯ ฉิบหายวายป่วงอยู่ช่วงใหญ่ ๆ
ไทม์ไลน์ของเศรษฐกิจสหรัฐยุคต่าง ๆ
วัฒนธรรมป๊อปเพื่อเป็นเครื่องมือช่วยบอกยุคสมัย ทันทีที่เราเห็นภาพ เครื่องแม็ค, ไอโฟน, บริทนีย์ สเปียร์ส, เฟซบุ๊ก, วงเนอร์วานา และอีกมากมายที่ตัดสลับกับโครงหลักของเรื่อง
ก่อนหน้าที่ฟองสบู่อสังหาริมทรัพย์จะแตก กลุ่มนักลงทุนที่ “ขายชอร์ต” เหมือนตัวตลกของคนมองโลกในแง่ดีในระบบเศรษฐกิจทุนนิยม
โดยระหว่างทาง ข้อมูลด้านลบต่าง ๆ ที่หลั่งไหลมา ทำให้พวกเขาเชื่อมั่นว่า โลกไม่สามารถที่จะดำรงอยู่ด้วยเหรียญ “โลกสวย” แต่เพียงด้านเดียว มันต้องการการมองในฝั่ง “โลกเสื่อม” ควบคู่กันไปด้วย
ระบบนี้จะล่มสลาย ระบบใหม่ของความโสโครกในโลกการเงินก็จะกลับมาอีกครั้งผ่านนวัตกรรมการเงินใหม่ ๆ ที่ไม่ต่างจาก CDO และคนโชคร้ายที่สุดคือคนเดินดินกินข้าวแกง
หาใช่กลุ่มคนรวยหรือชนชั้นนำที่รัฐเสนอให้มีนโยบายโอบอุ้ม (bailout) เพื่อให้คนพวกนั้นรอดอยู่ฐานด้านบนสุดของพีระมิดแห่งความร่ำรวยต่อไป
ชัยชนะคือคน “มองโลกในแง่ร้าย” ช่วยให้เราระวังในสิ่งที่เราคิดว่าวันนี้มันมั่นคงอยู่แล้ว แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าจะมั่นคงตลอดไป
โลกจึงต้องมีคนประเภท “มองโลกในแง่ร้าย” เพื่อคอยตรวจสอบว่า โลกอีกฝั่ง และระบบที่เป็นอยู่ มันห่วยแบบไหน
ระบบเศรษฐกิจของสหรัฐฯ
บบทุนนิยม “มองโลกในแง่ดี” ในมุมที่ว่าเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกากำลังดีวันดีคืน ธุรกิจการเงินฝั่งอสังหาริมทรัพย์แข็งแรงดี ผู้คนในอเมริกามีบ้านในสัดส่วนที่มากขึ้น
ตามอุดมคติในแบบ “ความฝันอเมริกัน” (American Dream) มีบ้าน มีรถ มีครอบครัวที่อบอุ่นแบบชนชั้นกลางทั่วไป
“วอลล์สตรีท” ตลาดการเงินในสหรัฐฯ ด้วยสายตาที่เชื่อมั่นเท่าไหร่นัก ตรงกันข้าม พวกเขามองโลกการเงินด้วย “การมองโลกในแง่ร้าย” ผ่านการลงทุนที่เรียกว่า “การขายชอร์ต”
เป็นการเก็งกำไรที่สวนทางกับตลาดในแง่ที่ว่า หากตลาดโต หุ้นมีมูลค่าเพิ่ม พวกเขาเจ๊ง แต่หากตลาดแย่ พวกเขาจะอยู่ฝั่ง “ผู้ชนะ”
เงินกับความพินาศของสหรัฐฯ ตรงกันข้าม สิ่งที่พวกเขาทำคือการชี้ช่องให้เห็นว่า ในระบบนี้ มี “จุดโหว่”