Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่15
การพยาบานรีเวช - Coggle Diagram
-
-
-
-
โรคไม่ติดเชื้อ
- Menstrual cycle disorders:
1.1 amenorrhea ,Menopause
1.2 dysmenorrhea
1.3 Post menstrual bleeding
Abnormal Uterine Bleeding
Dysfunction Uterine Bleeding
- Tumor/ cyst
- Endometriosis
- cervix
- ovary
- uterus
- displacement
1.สรีระวิทยาของการมีระดู
ระดูหมายถึง
“เลือดที่ไหลออกจากโพรงมดลูกเป็นรอบๆ ทุกเดือน”
ประกอบด้วย เมือก เลือด เยื่อบุโพรงมดลูก เซลล์เยื่อบุ
ช่องคลอด มูกปากมดลูกและแบคทีเรีย โดยมีprostaglandin enzyme และ fibrinogen ช่วยทําให้เลือดไม่แข็งตัว
กลไกการเกิดระดู
- ปัจจัยที่มีผลต่อกลไกการเกิดระดู ประกอบด้วย
การทํางานของ
- Hypothalamus
- Pituitary gland
- Ovary
เรียกว่า“Hypothalamus Pituitary Ovarian Axis
(HPO axis) มีทั้งกลไกกระตุ้น และยับยั้ง
- FSH และ LH จะมากระตุ้นรังไข่ ทําให้มีการเจริญของถุงไข่ (Follicle) เพืÉอ
สร้างฮอร์โมน เอสโตรเจน เมื่อ Follicle โตเต็มที่และมีการตกไข่ ผนังของ Follicle จะเปลี่ยนแปลงไปเป็ น corpus luteum ซึ่งทําหน้าที่สร้าง estrogen
และ progesterone ในช่วงก่อนการตกไข่ estrogen จะกระตุ้นให้เยืÉอยุ โพรงมดลูกหนาตัวขึÊนเป็ น Proliferative endometrium ภายหลังการตกไข่
estrogen และ Progesterone จะกระตุ้น เยืÉอบุโพรงมดลูกให้เปลีÉยนเป็ นsecretory endometrium และเมืÉอ corpus luteum เริÉมเสืÉอมสลาย ระดับ
ฮอร์โมนทัÊงสองจะลดลงทันที มีการหลุดลอกของเยืÉอบุโพรงมดลูก เป็ น ระดู และออกสู่ภายนอกร่างกาย
ชนิดของระดู
- ระดูที่มีไข่ตก (Ovular menstruaion)
การหลุดลอกของเยื่อบุโพรงมดลูกในระยะsecretary
- ระดูที่ไม่มีไข่ตก (Anovularmenstruation) มีการหลุดลอกของเยื่อบุ
โพรงมดลูกในระยะ proliferative
วงรอบของระดู
► ปกติวงรอบของระดู (interval)หรือระยะห่างระหว่าง
รอบระดูประมาณ 28 วัน (21-35 วัน)
► ระยะเวลามีระดู (duration) 3-7 วัน
-
Menopause
► ความหมาย หญิงที่มีอายุ 40-59 ปีซึ่งครอบคลุม
ตามระยะของการหมดประจําเดือน ได้แก
► ระยะก่อนหมดประจําเดือน (อายุ 40-44 ปี)
► ระยะใกล้หมดประจําเดือน (อายุ 45-55 ปี) และ
► ระยะหลังหมดประจําเดือน (อายุ 56-59 ปี)
► เอสโตรเจน ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่สร้างจากรังไข่จะมี
ระดับลดลงในช่วงวัยหมดประจําเดือน
► กลุ่มอาการของวัยหมดประจําเดือน ประกอบด้วย
ความรูู้สึกร้อนวูบวาบ เหงื่อออกมากในเวลากลางคืน นอนไม่หลับหรือหลับยาก หลับไม่ลึกเครียด อารมณ์แปรปรวนหงุดหงิดง่าย
► ภัยเงียบที่พบในวัยหมดประจําเดือน ซึ่งจะเป็นผลกระทบ
ที่เกิดขึ้นในระยะยาว ได้แก่ โรคกระดูกพรุน
-
Tumor cyst ในนรีเวช
- Tumor/ cyst :
- Endometriosis- ovary
- Molar pregnancy- cervix
- uterus- displacement
ปัจจัยเสี่ยง
- สตรีที่มีระดูครั้งแรกอายุน้อย ช่วงรอบระดูสั้นและเลือดระดูออกมาก
- พันธุกรรม
- พยาธิสภาพขัดขวางการไหลของระดู เช่น
Imperforate hymen
- สตรีที่ไม่มีบุตรหรือมีบุตรน้อย
ระดับความรุนแรงของ Endometriosis
- Mild ไม่เกิดพังผืดหรือการดึงรังของอวัยวะ2. Moderate เกิดพังผืดและดึงรังโดยเฉพาะบริเวณ
รังไข่3. Severe เกิดการดึงรังไปยัง ligament อวัยวะเกี่ยว
กับการขับถ่าย
การรักษา
-
- การผ่าตัด เลือกใช้ในรายที่ระยะของโรครุนแรง ผู้ป่วย
มีอาการปวดรุนแรง หรือมีอาการฉับพลัน และจำเป็นต้องได้รับการผ่าตัด หรือในรายที่รักษาด้วยยาแล้วไม่ได้ผลใน
กลุ่มวัยรุ่นควรเลือกการผ่าตัดเชิงอนุรักษ์(conservative)ซึ่งผู้ป่วยจะยังสามารถตั้งครรภ์ได้ สามารถทำได้ทั้งการผ่า
ตัดผ่านกล้อง (laparoscopy)ซึ่งเป็นที่นิยมและการผ่าตัดเปิดหน้าท้อง (laparotomy)
มีอัตราการกลับมาเป็นซ้ำประมาณร้อยละ 50 ใน 1 ปี
การวินิจฉัย
- การซักประวัติ อาการปวดประจำเดือน การ
รบกวนจากอาการปวด2. การตรวจร่างกาย ตรวจหน้าท้อง ตรวจ
ภายในQ-tip test
- การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
พยาธิสภาพ :
- มักพบจุดสีน้ำตาลในอุ้งเชิงกราน โดยเฉพาะ ผิวรังไข่
มดลูก ลำไส้ เยื่อบุช่องท้อง ลักษณะสีแดงหรือสีน้ำเงินปนดำอาจพบขนาดใหญ่กว่า10 cm. เรียกว่า Chocolate cyst
- หากพบถุงน้ำภายในมีของเหลวสีน้ำตาลเข้ม เรียกว่าEndometrioma ถุงน้ำจะสร้าง Adhesion มายึดกับอวัยวะ
ข้างเคียงเป็นสาเหตุทำให้มีบุตรยาก
หมายถึงภาวะที่เยื่อบุโพรงมดลูกมีการเจริญเติบโตในตำแหน่งอื่นๆ
นอกเหนือจากภายในโพรงมดลูกและอาจลุกลามไปยัง
อวัยวะใกล้เคียงใน และนอกอุ้งเชิงกราน