Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษา หญิงไทย G1P0000 นศพต.ลักษมิกร เงินแจ้ง เลขที่ 57 - Coggle…
กรณีศึกษา
หญิงไทย G1P0000
นศพต.ลักษมิกร เงินแจ้ง เลขที่ 57
ประวัติส่วนตัว
มารดาหญิงไทยอายุ 29 ปี 9 เดือน
อาชีพ พนักงานบริษัท
รายได้ต่อเดือน 13,000 บาท
ที่พักอาศัย : บ้านทาวเฮ้าส์ 2 ชั้น
G1P0000 GA 36 wks 3 days by u/s
U/S วันที่ 21 พ.ย.2563 GA 24 wks 1 day
EDC by u/s : 12 มีนาคม 2564
จบการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ประวัติการเจ็บป่วย : ปฏิเสธ
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว : ปฏิเสธ
เคยกินยาคุมมา 8-9 ปี ปล่อยมาประมาณ 8-9 เดือน
ตรวจเจอครั้งแรก 6 Wks จึงนัดมาฝากครรภ์ 2 สัปดาห์ผ่านมา
มารดาตรวจพบชีพจรเต้นเร็วกว่าปกติ
On verapamil 40 mg.วันละ 3 ครั้ง
หลังอาหารเช้า กลางวัน และเย็น
ประเภทของยา : calcium channel blockers
ข้อบ่งใช้ในสตรีตั้งครรภ์
-อาการปวดเค้นจากหัวใจขาดเลือด
-ความดันโลหิตสูง
-หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ข้อบ่งใช้ในสตรีตั้งครรภ์
เนื่องจากหญิงตั้งครรภ์มีอาการหัวใจเต้นเร็วกว่าปกติ ซึ่งค่าปกติอยู่ระหว่าง 60-100 ครั้ง/นาที ซึ่งหญิงตั้งครรภ์มากกว่า 100 ครั้ง/นาที
หญิงตั้งครรภ์ตรวจพบความดันโลหิตสูงตอนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
ความเสี่ยงในสตรีตั้งครรภ์ : เสี่ยงน้อย
ผลต่อทารกในครรภ์
🌻ใช้ได้ในสตรีตั้งครรภ์ และจากการศึกษาในกลุ่มควบคุมยังไม่มีผลของทารกในครรภ์
น้ำหนักก่อนการตั้งครรภ์ 69 kg. ส่วนสูง 162 cm. BMI = 26.33 kg/m^2
ดังนั้นตลอดการตั้งครรภ์ไม่ควรเกิน 12 kg.
ประวัติการผ่าตัด : ปฏิเสธการผ่าตัด
ฝากครรภ์ที่โรงพยาบาลบางนาสม่ำเสมอจำนวน 5 ครั้ง และฝากครรภ์สม่ำเสมอต่อที่โรงพยาบาลตำรวจจำนวน 5 ครั้ง
ฝากครรภ์ครั้งแรก : โรงพยาบาลบางนา 1ตอนอายุครรภ์ 8 สัปดาห์
การได้รับวัคซีน
เข็มที่ 1 : 26 กันยายน 2563
เข็มที่ 2 : 23 ตุลาคม 2563
สิทธิ์ที่ใช้ในการรักษา : สิทธิเบิกกองทุนประกันสังคม (ผู้ประกันตน)
โรงพยาบาลรักษา (ประกันสังคม) : โรงพยาบาลทั่วไปขนาดใหญ่บางนา 1 (11592)
ภาวะความดันโลหิตสูง ( Hypertension)
Gestational Hypertension
ภาวะความดันโลหิตสูงที่จำเพาะกับการตั้งครรภ์ ที่ตรวจพบหลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์ แต่ไม่พบ Proteinuria (ไม่มีโปรตีนในปัสสาวะ) แต่เดิมอาจเรียกว่า PIH หรือ pregnancy-induced hypertension
พยาธิสรีรภาพของหญิงตั้งครรภ์
ตรวจพบว่าเป็นความดันโลหิตสูง ขณะอายุครรภ์ 20 สัปดาห์ที่โรงพยาบาลบางนา 1 ร่วมกับมีอาการหัวใจเต้นผิดจังหวะ จึงได้รับยา verapamil
Pregnancy-induced hypertension
(ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์)
ประวัติการผ่าตัด
วินิจฉัยการตั้งครรภ์
🌺Presumptive sign
ประจำเดือนขาด
-ตรวจการตั้งครรภ์ได้ +
-มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน
🌺Probable sign
-urine pregnancy test +
จากการสอบถามพบว่า หญิงตั้งครรภ์ปกติประจำเดือนมาไม่ปกติ ไปตรวจที่โรงพยาบาลมีอาการปวดท้องเหมือนจะเป็นประจำเดือน แต่ประจำเดือนไม่มา 2-3 สัปดาห์ จึงเข้ามาตรวจที่โรงพยาบาลบางนา 1 โดยการตรวจ u/s พบว่าตนเองตั้งครรภ์
11 แบบแผนกอร์ดอน (Gordon’s topology)
แบบแผนที่ 2 อาหารและการเผาผลาญอาหาร
รับประทานอาหารจำพวกแกงกะทิ
แบบแผนที่ 3 การขับถ่าย
ท้องผูก ขับถ่ายไม่สม่ำเสมอ ,ปัสสาวะบ่อยขึ้นทั้งกลางวันและกลางคืน
แบบแผนที่ 4 กิจกรรมและการออกกำลังกาย
ไม่ได้ออกกำลังกายหลังจากตั้งครรภ์ ก่อนตั้งครรภ์ได้มีการวิ่งและเต้นแอโรบิค
แบบแผนที่ 5 การพักผ่อนและนอนหลับ
นอนหลับไม่เกิน 22.00 น. วันละ 7-8 ชั่วโมง พักผ่อนไม่เป็นเวลา
แบบแผนที่ 9 เพศและการเจริญพันธุ์
ประจำเดือนมาสม่ำเสมอ ไม่ได้คุมกำเนิด
แบบแผนที่ 10 การปรับตัวและความทนทานต่อความเครียด
ไม่มีความวิตกกังวล ความวิตกกังวลต่ำ
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ภรรยา
29 สิงหาคม 2563
MCV = 58.1
Hb E screen = Positive
Hb typing = Homozygous Hb E without alphathalassemia
screening alpha thal = Neg
29 ส.ค.63
ผลตรวจปัสสาวะโปรตีน = Neg
น้ำตาล = Neg
ภูมิคุ้มกันวิทยา
VDRL (RPR) = Non-reactive
HBs Ag = Negative
HIV Ab = Negative
โลหิตวิทยา 01/12/63
*ABO Group: O
*Rh Group: Positive
*IAT/Ab screening : Negative
Complete Blood Count
01/12/2563
Hemoglobin (Hb) =11.7 g/dL (ต่ำกว่าเกณฑ์) ค่าปกติ 12.3-15.5
Hematocrit (Hct) = 34.7% (ต่ำกว่าเกณฑ์) ค่าปกติ 36.8-46.6
RBC = 5.36 10^6/uL (สูงกว่าเกณฑ์) ค่าปกติ 3.96-5.29
MCV = 64.7 fL (ต่ำกว่าเกณฑ์) ค่าปกติ 79.9-97.6
MCH = 21.9 pg (ต่ำกว่าเกณฑ์) ค่าปกติ 25.9-32.4
WBC = 15.74 10^3/uL (สูงกว่าเกณฑ์) ค่าปกติ 4.24-10.18
Neutrophil = 83.8% (สูงกว่าเกณฑ์) ค่าปกติ 48.1-71.2
Lymphocyte =12.8% (ต่ำกว่าเกณฑ์) ค่าปกติ 21.1-42.7
Monocyte =3.0% (ต่ำกว่าเกณฑ์) ค่าปกติ 3.3-10.2
Eosinophil =0.2% (ต่ำกว่าเกณฑ์) ค่าปกติ 0.4-7.2
จุลทรรศนศาสตร์คลินิก
สามี
25 ก.ย.63
MCV =70.8
Hb E screen = Positive
Hb typing = Hb E trait
%Hb E=24.1
Screening a thal = Neg
การให้คำแนะนำแต่ละไตรมาส
ไตรมาสที่ 1
( 1 Trimester)
คำแนะนำสำหรับมารดา
Food for First Trimester อาหารเสริมสร้างเซลล์
โปรตีน = เนื้อสัตว์ทุกชนิด นม ไข่ หรือถั่ว (70 g/day)
แคลเซียม = นม ผักใบเขียว ปลาตัวเล็กๆ
กรดโฟลิค = ผักใบเขียว
เหล็ก = เนื้อแดง ไข่แดง ตับ
ไอโอดีน = อาหารทะเล
สังกะสี = ถั่ว กุ้ง หอยแมลงภู่
รับประทานผักและผลไม้ตามฤดูกาล ผักใบเขียวเน้นประเภทกากใย,vit C
ให้รับประทาน Carbohydrate ในปริมาณที่เท่าเดิม (BMI ปกติ)และไม่รับประทานอาหารที่มีน้ำตาลสูง
ให้ดื่มน้ำวันละ 8-10 แก้วและนมประมาณ 2-3 แก้ว หรือน้ำเต้าหู้
หลีกเลี่ยงอาหาร fast food ของทอด หลีกเลี่ยงชา กาแฟ
รับประทานอาหารรสชาติเบาๆ ไม่รับประทานอาหารในช่วงที่รู้สึกคลื่นไส้ หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันสูง อาหารที่มีกลิ่นรุนแรง เพราะ อาหารประเภทนี้จะยิ่งทำให้รู้สึกคลื่นไส้มากขึ้น
แนะนำการปฏิบัติตัว คือ ไม่ควรใส่ชุดรัดรูปจนเกินไป ไม่ควรใส่รองเท้าส้นสูง
นอนหลับพักผ่อนวันละ 8-10 ชั่วโมง ควรนอนกลางวันอย่างน้อยวันละ 1/2- 1 ชั่วโมง
หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ในช่วง 3 เดือนแรก เพื่อป้องกันการกระทบกระเทือน
ควรออกกำลังกายอาทิตย์ละ 3-4 วัน โดยไม่ควรออกกำลังกายที่ใช้แรงมาก ควรออกกำลังกายที่เบา เช่น ยืดเหยียดขา
ให้ความรู้และสังเกตอาการผิดปกติที่ต้องมาพบแพทย์ เช่น อาการปวดท้องน้อยหรือมีเลือดออกทางช่องคลอด
อธิบายอาการที่จะเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้หลังการตั้งครรภ์ เช่น ปัสสาวะบ่อย ท้องผูก เป็นตะคริว
น้ำหนักที่ควรขึ้นอยู่ที่ 0.5 - 2 kg.ในไตรมาสแรก
ไตรมาสที่ 2
( 2 Trimester)
Food for 2 Trimester อาหารถูกสัดส่วน และวิตามิน
วิตามินบี 1 2 6 12 = เนื้อสัตว์ นม ปลา ข้าวซ้อมมือ
วิตามินเอ = นม ไข่แดง ตับ
วิตามินซี = ส้ม มะละกอ มะเขือเทศ ฝรั่ง มะนาว
วิตามินดี = ไข่แดง ปลา โยเกิร์ต นม
เบต้าแคโรทีน = แครอท บร็อกโคลี่
ทารกในครรภ์ได้รับสารอาหาร และออกซิเจนจากแม่ผ่านทางรก และสายสะดือ คุณจึงควรที่จะมีลักษณะการทานอาหารที่เป็นสัดส่วน แบ่งทานมื้ออาหารเป็นมื้ออาหารย่อยๆ สัก 4-6 มื้อ แต่ทานครั้งละน้อยๆ พออิ่ม แต่ไม่ควรให้อิ่มมากจนแน่นท้อง
ทารกกำลังมีการสร้างเนื้อสร้างตัว สร้างระบบอวัยวะต่างๆ
ส่งเสริมพัฒทารกในครรภ์
🌻นั่งเก้าอี้โยกมากกว่า 10 สัปดาห์
🌻เล่านิทานให้ฟังหรือพูดคุยด้วยวลีสั้นๆมีความหมาย 10-15 นาที ควรทำหลังอายุครรภ์ 20 wks.
🌻สัมผัสลูกน้อยและพูดคุยขณะลูบท้อง โดยสามารถเริ่มทำได้ตั้งแต่เริ่มเข้าไตรมาส 2
🌻ให้สามีสัมผัสและคุยกับลูกน้อยประโยคเดิมๆ 5-10 นาทีทุกวัน
🌻กระตุ้นและพัฒนา cell สมองด้วยการส่องไฟบริเวณหน้าท้อง
ทารกเริ่มดิ้นเป็นเวลา มีเวลาตื่น-หลับ ให้นับทารกดิ้น โดยนับให้ได้มากกว่า 10 ครั้งต่อวัน โดยนับหลังมื้ออาหาร ก่อนนอน โดยเปรียบเทียบหากพบว่าทารกดิ้นน้อยลง ให้รีบมาพบแพทย์
มีเพศสัมพันธ์ได้ปกติ แต่ควรงดในรายที่มีประวัติการแท้ง หรือมีเลือดออกทางช่องคลอดงดมี sex!! เด็ดขาด
ท่า-ท่าที่ผู้หญิงอยู่ข้างบน ไม่รุนแรง
น้ำหนักควรขึ้น 0.5-1 kg./wk ควรซึ่งน้ำหนักทุกสัปดาห์
สังเกตอาการผิดปกติที่ควรรีบมาพบแพทย์ ex.ตาพร่ามัว ปวดศีรษะ มีน้ำเดิน ปวดท้องน้อย
ระวังการติดเชื้อ -ดูแลความสะอาด ควรใส่หน้ากากอนามัยขณะออกข้างนอกและล้างมือบ่อยๆ
ไตรมาสที่ 3
( 3 Trimester)
Food for 3 Trimester อาหารสมองและกระดูก
ทารกมีการสะสมธาตุเหล็กไว้ใช้ต่อ ในช่วง 4 เดือนหลังคลอด
ทารกจะค่อยๆ สะสมแคลเซียม เพื่อสร้างกระดูกและฟัน
โอเมก้า = น้ำมันถั่วเหลือง
ดีเอชเอ = ปลาทะเล
เออาร์เอ = ถั่วทุกชนิด เนื้อสัตว์
วิตามินอี = ไข่แดง ธัญพืช
แคลเซียม = นม โยเกิร์ต ผักใบเขียว ปลาตัวเล็กๆ
เหล็ก = ตับ เนื้อแดง ไข่แดง ผักใบเขียว
เตรียมความพร้อมของมารดา
สอนมารดาสังเกตอาการเจ็บครรภ์
1.เจ็บครรภ์เตือน
🌻นั่งหรือนอนพักอาการเจ็บครรภ์หายไป
🌻เจ็บครรภ์ไม่สม่ำเสมอ
🌻เจ็บบริเวณท้องน้อย
2.เจ็บครรภ์จริง
🌺นั่งพักแล้วไม่หาย
🌺มีอาการเจ็บสม่ำเสมอทุก 5 นาที
🌺มีอาการปวดร้าวจากบริเวณด้านหลังมาบริเวณหน้าขา
งดการมีเพศสัมพันธ์ประมาณ 1 เดือนก่อนคลอด
น้ำหนักควรจะเพิ่ม 0.2-0.3 kg./wks
เตรียมความพร้อมในการตั้งชื่อบุตรและอุปกรณ์สำหรับทารกแรกเกิด
สังเกตอาการผิดปกติ หากพบอาการผิดปกติให้รีบมาพบแพทย์
โรคธาลัสซีเมีย
เป็นภาวะเลือดจางชนิดหนึ่งที่มีการถ่ายทอดทางพันธุกรรมแบบ autosomal recessive โดยเกิดจากความผิดปกติของการสังเคราะห์สายโกลบิน โดยยีนธาลัสซีเมียอาจทำให้มีการสร้างสายโกลบินหรือเปปไทด์เปลี่ยนไป
โกลบิน หมายถึง สายโพลีเปปไทด์ในฮีโมโกลบิน ฮีโมโกลบิน คือ สารชนิดหนึ่งที่อยู่ในเม็ดเลือดแดง ทำหน้าที่จับออกซิเจนไปเลี้ยงเนื้อเยื่อในร่างกาย
แบ่งเป็น 2 กลุ่ม
1.กลุ่มยีนแอลฟ่า โกลบิน (alpha globin gene cluster)
อยู่บนแขนสั้นของโครโมโซมที่ 16 ควบคุมการสร้างสายแอลฟ่า โกลบิน (alpha-globin) และสายซีต้า โกลบินในช่วงเอมบริโอ
2.กลุ่มยีนเบต้า โกลบิน (beta globin gene cluster)
อยู่บนแขนสั้นของโครโมโซมที่ 11 ควบคุมการสร้างสายแกมม่า โกลบิน (r-globin) และสายเดลต้า โกลบิน (d-globin) และเบต้า โกลบิน (B-globin) และสายเอปซิลอนในช่วงเอมบริโอ
ประเภทของโรคธาลัสซีเมีย
1.แอลฟ่า ธาลัสซีเมีย (alpha -thalassemia)
2.เบต้า ธาลัสซีเมีย (beta-thalassemia)
โอกาสเสี่ยงมีลูกเป็นโรค Thalassemia แบ่งเป็น 5 กรณี
ป่วยทั้งคู่ เป็น 100%
พาหะทั้งคู่ปกติ 25%,พาหะ 50%, เป็น 25%
พาหะ 1 คนปกติ 1 คน : ปกติ 50%,พาหะ 50%
เป็น 1 คนปกติ 1 คน พาหะ 100%
พาหะ 1 คนเป็น 1 คน : เป็น 50%,พาหะ 50%
นิยามศัพท์เฉพาะ
hemoglobin E disease
ภาวะโลหิตจางที่เกิดจากความผิดปกติในสูตรโครงสร้างของโกลบิน เป็นโรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมชนิด autosomal recessive ผู้ป่วยจะมีอาการซีดเล็กน้อย สามารถดำรงชีวิตได้เหมือนคนปกติ ไม่มีปัญหาสุขภาพ แต่อาจมีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย หรือเมื่อมีไข้ อาจมีอาการมากกว่าคนปกติทั่วไป
Thalassemia
ภาวะโลหิตจางที่เกิดจากความผิดปกติในด้านปริมาณการสร้างโกลบิน เป็นโรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมชนิด autosomal recessive มี 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ เบต้าธาลัสซีเมีย และแอลฟ้าธาลัสซีเมีย
homozygous
ผู้ที่มียีนธาลัสซีเมีย ซึ่งเป็นยืนผิดปกติทั้งสองอันมาจากทั้งบิดาและมารดา จัดว่าเป็นโรค ทำให้มีอาการแสดงของโรคโลหิตจาง และจะถ่ายทอดความผิดปกติข้างใคข้างหนึ่งต่อไปให้บุตรแต่ละคนได้
การตรวจครรภ์
ครั้งที่ 2 (21 ธันวาคม 2563)
น้ำหนักมารดา 76.5 kg.
ความดันโลหิต
107/67 mmHg
ชีพจร 106 ครั้ง/นาที
อาการผิดปกติ
ไม่มีอาการผิดปกติ
ขนาดของมดลูก
3/4 above umbilicus
CMS 27 cm.
เสียงหัวใจเด็ก 170 ครั้ง/นาที
เด็กดิ้น +
ครั้งที่ 3 (18 มกราคม 2564)
ความดันโลหิต
120/76 mmHg
ชีพจร 105 ครั้ง/นาที
น้ำหนักมารดา 79.6 kg.
อาการผิดปกติ
ไม่มีอาการผิดปกติ
ขนาดของมดลูก
3/4 above umbilicus
CMS 35cm.
เสียงหัวใจเด็ก 160 ครั้ง/นาที
เด็กดิ้น +
ท่าเด็ก
ส่วนนำ : Vertex
ส่วนลง : HF
ครั้งที่ 4 (1 กุมภาพันธ์ 2564)
น้ำหนักมารดา 80.6 kg.
ความดันโลหิต
108/67 mmHg
การตรวจปัสสาวะ
Albumin
Negative
Sugar
Negative
อาการผิดปกติ
ไม่มีอาการผิดปกติ
ชีพจร 100 ครั้ง/นาที
ขนาดของมดลูก
3/4 above umbilicus
CMS 35 cm.
เสียงหัวใจเด็ก 160 ครั้ง/นาที
เด็กดิ้น +
ท่าเด็ก
ส่วนนำ : Vertex
ส่วนลง : HF
ครั้งที่ 5 ( 15 กุมภาพันธ์ 2564)
น้ำหนักมารดา 82.7 kg.
ความดันโลหิต
116/71 mmHg
การตรวจปัสสาวะ
Albumin
Negative
Sugar
Negative
อาการผิดปกติ
ไม่มีอาการผิดปกติ
ชีพจร 102 ครั้ง/นาที
ขนาดของมดลูก
3/4 above umbilicus
CMS 35 cm.
เสียงหัวใจเด็ก 156 ครั้ง/นาที
เด็กดิ้น +
ท่าเด็ก
ส่วนนำ : Vertex
ส่วนลง : HF
ครั้งที่ 1 (1 ธันวาคม 2563)
ความดันโลหิต
1.136/72 mmHg
2.140/87 mmHg
3.141/80 mmHg
ชีพจร 106 ครั้ง/นาที
ขนาดของมดลูก
2/4 above umbilicus
CMS 25 cm.
เสียงหัวใจเด็ก 159 ครั้ง/นาที
เด็กดิ้น +
อายุครรภ์ by U/S 25^4 wks.
อาการผิดปกติ
ไม่มีอาการผิดปกติ
การวินิจฉัยและการรักษา
UPCR 0.12,albumin (urine) =neg LDH = 145
suspected gestational HT = รับยา รพ.บางนา 1 on verapamil (40 mg) 1x3 po pc
HM : Nataral 1x1 po pc, Cal tab 1x1 po pc
น้ำหนักมารดา 75.5 kg.
อาการที่พบบ่อยในหญิงตั้งครรภ์
คลื่นไส้ อาเจียน 👉🏻แบ่งกิน กินน้อยแต่บ่อยมื้อ ดื่มน้ำเยอะๆ
แสบร้อนในอก👉🏻เลี่ยงอาหารที่ก่อให้เกิดแก๊สหรือมีแก๊สมาก ย่อยยาก
หน้ามืด👉🏻เปลี่ยนอิริยาบถช้าๆ นอนตะแคงซ้าย
ริดสีดวงทวาร 👉🏻 ดื่มน้ำ 8-10 แก้ว ทานอาหารที่มีกากใย
ปัสสาวะบ่อย 👉🏻 ไม่ควรกลั้นปัสสาวะ
ปวดหลัง 👉🏻 ยืน นั่งหลังตรง ไม่ใส่รองเท้าส้นสูง
คันผิวหนัง 👉🏻 ทาครีมบำรุง ห้ามแกะเกา
เส้นเลือดขอด👉🏻งดยืนหรือนอนนานๆให้ยกขาสูง
ตะคริว👉🏻กิน Ca2+,ดัดปลายเท้า,ดื่มนมวันละ 2-3 แก้ว
บวม 👉🏻หายเองได้ หลีกเลี่ยงอาหารเค็ม ยกขาชึ้นบ่อยๆ
ตกขาว 👉🏻ล้างทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ ห้ามสวนล้าง คัน มีกลิ่น รีบมาพบแพทย์