Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีความพิการแต่กำเนิดที่ต้องได้รับการช่วยเหลือตั้งแต่แรกเกิ…
การพยาบาลเด็กที่มีความพิการแต่กำเนิดที่ต้องได้รับการช่วยเหลือตั้งแต่แรกเกิด
ความพิการแต่กำเนิด (Birth Defects)
หมายถึง
ความผิดปกติของส่วนใดส่วนหนึ่งหรือหลายส่วนของร่างกาย ซึ่งเป็นผลมาจากการเจริญผิดปกติของทารกตั้งแต่อยู่ในครรภ์
ในประเทศไทย พบ 24,000-40,000 รายต่อปี
จำแนกตามกลไกการเกิด
1.Malformation
ลักษณะของอวัยวะที่ผิดรูปร่างไป
เกิดจากกระบวนการเจริญพัฒนาภายในที่ผิดปกติ
เกิดจากพันธุกรรมหรือสิ่งแวดล้อม
ปากแหว่ง (cleft-lip) เพดานโหว่(cleft -palate)
นิ้วเกิน (polydactyly)
ติ่งบริเวณหน้าหู(preauricular skin tag)
Deformation
เกิดจากการที่มีแรงกระทาจากภายนอกทาให้อวัยวะผิดรูปไป
เช่น
มีภาวะถุงน้ำคร่ำรั่วระหว่างตั้งครรภ์ทำให้เกิด oligohydramnios sequence
ทารกที่อยู่ในน้้ำคร่ำน้อย พื้นที่มีจำกัดทำให้เกิดภาวะผิดรูปของแขนขา
เช่น
เท้าปุก (clubfoot)
ข้อติด (joint contracture)
Disruption
ภาวะที่โครงสร้างของอวัยวะหรือเนื้อเยื่อผิดปกติ
สาเหตุภายนอกรบกวนกระบวนการเจริญพัฒนาอวัยวะที่ไม่ใช่พันธุกรรม
เช่น
การบาดเจ็บของอวัยวะหรือเนื้อเยื่อ
แม่ได้รับยาหรือสารเคมี
มีการฉีกขาดของ amnion ทาให้เกิด amniotic band ผูกรัดแขนขาของทารกเกิด
Dysplasia
เป็นความผิดปกติในระดับเซลล์ของเนื้อเยื่อ
พบในทุกส่วนของร่างกาย
เช่น
กลุ่มโรค skeletal dysplasia เกิดจากความผิดปกติของกระดูกที่มีสาเหตุจากพันธุกรรม
achondroplasia เด็กจะมีลักษณะตัวเตี้ย แขนขาสั้น ศีรษะโต สันจมูกแบน
วันที่ 3 มีนาคม ของทุกปี กาหนดให้เป็น “วันทารกและเด็กพิการแต่กาเนิดโลก”
กลุ่มอาการที่พบได้บ่อยของความพิการแต่กำเนิด
กลุ่มอาการดาวน์ (Down Syndrome)
โรคหลอดประสาทไม่ปิด Neural Tube Defect )
ภาวะปากแหว่งเพดานโหว่
(Cleft Lip and Cleft Palate)
แขนขาพิการแต่กาเนิด(Limb Anomalies)
โรคกล้ามเนื้อเสื่อมพันธุกรรม
(Duchenne Muscular Dystrophy)
สาเหตุของความพิการแต่กำเนิด
ไม่ทราบแน่ชัดแต่อาจเกี่ยวเนื่องกับปัจจัย
พันธุกรรม
ปัจจัยจากสิ่งแวดล้อม
มารดามีอายุมากเกิน 35 ปี บุตรมีโอกาสเกิดความพิการได้มาก
โรคติดเชื้อ
เช่น
โรคหัดเยอรมันขณะตั้งครรภ์ได้ไม่เกิน16 สัปดาห์ อาจมีผลทำให้เด็กในครรภ์ตาย แท้ง หรือคลอดออกมาพิการผิดปกติได้
ขาดอาหาร ขาดวิตามิน
มารดากินยาหรือเสพสารเสพติดหรือและดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
มารดาได้รับสารเคมีจากสิ่งแวดล้อม
เช่น
สารปรอท
รังสีเอ๊กซ์ หรือรังสีแกมม่า รวมทั้งสารกัมมันตรังสีทางการแพทย์
ความผิดปกติของการตั้งครรภ์ หรือ ภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์
เช่น
ครรภ์เป็นพิษ
รกเกาะผิดที่ทาให้เกิดเลือดออกระหว่างตั้งครรภ์
ปากแหว่ง (cleft-lip) เพดานโหว่(cleft -palate)
ปากแหว่ง (Cleft-lip)
หมายถึง
ความผิดปกติบริเวณริมฝีปาก เพดานส่วนหน้าแยกออกจากกัน
เพดานโหว่(Cleft-palate)
หมายถึง
ความผิดปกติบริเวณเพดานหลังแยกออกจากกัน
สาเหตุ
ยังไม่ทราบแน่ชัด แต่มีส่วนเกี่ยวเนื่องกับ
พันธุกรรม
ปัจจัยภาวะแวดล้อมขณะอยู่ในครรภ์มารดา
เกิดภาวะขาดวิตามินหรือได้รับมากเกินไป (โดยเฉพาะวิตามินเอ)
การติดเชื้อไวรัส
ยาและสารต้านการเจริญของโครงสร้างร่างกาย
อาการและอาการแสดง
การดูดกลืนจะผิดปกติ เนื่องจากอมหัวนมไม่สนิท มีรูรั่วให้ลมเข้า
เกิดการสาลักเพราะไม่มีเพดานรองรับ เมื่อมีการกลืนอาหาร
พูดไม่ชัดเนื่องจากเพดานปากเชื่อมติดกับเพดานจมูก
หายใจลาบาก
อาจติดเชื้อในหูชั้นกลางทาให้มีปัญหาการได้ยินผิดปกติ
การวินิจฉัย
ปากแหว่งสามารถตรวจได้เมื่ออายุครรภ์ 13-14 สัปดาห์ ด้วย ultrasound
หาสาเหตุทางกรรมพันธุ์
การตรวจร่างกาย
โดยสอดนิ้วตรวจเพดานปากภายใน หรือดูในช่องปากเวลาเด็กร้อง
การรักษาปากแหว่ง
โดยทำการผ่าตัด
อาจทาภายใน 48 ชม. หลังคลอดในรายที่เด็กสมบูรณ์ดี หรือ รอตอนเด็กที่มีอายุอย่างน้อย 8 - 12 สัปดาห์
อาจใช้"กฎเกิน 10"
คือจะทาผ่าตัดเมื่อเด็กอายุ 10 สัปดาห์ขึ้นไป น้าหนักตัว 10 ปอนด์ ฮีโมโกลบิน 10 กรัมเปอร์เซ็นต์ขึ้นไป
การรักษาเพดานโหว่
ปรึกษาทันตแพทย์ เพื่อใส่เพดานเทียม
เพื่อปิดเพดานช่องโหว่ให้ทารกสามารถดูดนมได้ โดยไม่สาลัก
เพดานเทียมจะเปลี่ยนทุก 1 เดือน
ผ่าตัดเพดาน เพื่อให้มีการพูดให้ชัดเจนใกล้เคียงปกติมากที่สุด
ทาผ่าตัดแก้ไขความพิการก่อนเด็กเริ่มหัดพูด คืออายุประมาณ 6 - 18
Golden period คือ 1ปี
การผ่าตัดแก้ไขจมูก ทาเมื่ออายุประมาณ 3 ปี และตามด้วยการฝึกพูด
อายุประมาณ 5 ปี ปรึกษาทันตแพทย์จัดฟัน
การรักษาความผิดปกติที่หลงเหลืออยู่ เพื่อให้ลักษณะริมฝีปาก จมูก และภายในช่องปากใกล้เคียงปกติ มากที่สุด
การพยาบาลก่อนการผ่าตัด
บิดา มารดา ผู้ดูแลเด็กขาดความรู้เกี่ยวกับโรคและ วิธีการดูแลรักษา
แพทย์จะอธิบายการผ่าตัดและผลลัพธ์การรักษา
สอนการป้อนนมอย่างถูกวิธี
แนะนาการดูแลในระยะก่อน หลังผ่าตัด
เสี่ยงต่อการติดเชื้อทางเดินหายใจ /หูชั้นกลาง / การอุดกั้นทางเดินหายใจจากการสำลัก
ดูแลให้นมอย่างถูกวิธี
ขณะให้อาหารจัดท่าศีรษะสูงประมาณ 30-45 องศา
จุกนมอ่อนนิ่ม รูโต วางจุกนมด้านที่ไม่มีรอยแหว่ง
ถ้าเด็กดูดไม่ได้ใช้ช้อนป้อน / หลอดหยด
ดูดครั้งละน้อยๆ บ่อยครั้ง
จับไล่ลมเป็นระยะๆทุก 15-30 มิลลิลิตรเสมอ ตะแคงขวาให้ใบหน้าตะแคงเพื่อป้องกันท้องอืด สำลัก
ป้อนน้าตามทุกครั้งและทาความสะอาดช่องปาก
รักษาความสะอาดช่องปาก
เตรียมลูกยางแดงสาหรับดูดเสมหะไว้ข้างเตียง
สังเกตอาการ หายใจผิดปกติ ไอ ไข้
ชั่งน้าหนักทารกวันละครั้ง
มีโอกาสขาดสารน้ำสารอาหารจากการดูดกลืนผิดปกติ
บิดา มารดา วิตกกังวลเกี่ยวกับความพิการแต่กำเนิด
เปิดโอกาสให้บิดามารดาได้ซักถามถึงอาการเจ็บป่วย เพื่อหาแนวทางแก้ไข
ให้ข้อมูล คาแนะนา อธิบาย เกี่ยวกับอาการและอาการแสดงของผู้ป่วย และการรักษา
ปลอบโยนให้กาลังใจ ให้คาแนะนา และกระตุ้นให้บิดามารดาคอยดูแลบุตรอย่างใกล้ชิด
การพยาบาลหลังผ่าตัด
เสี่ยงต่อการเกิดแผลแยก/ เลือดออก /ติดเชื้อ
ล้างมือให้สะอาดก่อนและหลังดูแลผู้ป่วย
ผูกยึดข้อศอกทั้งสองข้าง (elbow restraint) ไม่ให้งอประมาณ 2-6 สัปดาห์ (คลายออกทุก1-2 ชั่วโมง ครั้งละ 10-15 นาที)
สอนผู้ดูแลเกี่ยวกับการผูกยึดข้อศอก ป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยล้วงมือเข้าในปาก
งดใส่สายยางดูดเสมหะเข้าช่องปาก
สังเกตอาการแผลมีเลือดออก การสีสิ่งคัดหลั่ง กลิ่น การอักเสบปวด บวมแดง
หากร้องไห้ ปลอบโยนให้ทาให้สงบโดยเร็ว
ไม่สุขสบายจากการปวดแผลผ่าตัด
TE.fistula
หมายถึง
การมีรูติดต่อระหว่างหลอดลมและหลอดอาหาร อาจพบร่วมกับ esophageal atresia
อาการ
มีน้าลายมาก ไอ เมื่อดูดเอาออกทิ้ง จะมีขึ้นมาอีกในเวลาไม่นา
สาลักง่าย เมื่อให้ดูดน้า ทารกจะสารอกทันที
ท้องอืด หายใจลาบาก เขียว และอาจหยุดหายใจได้
มักมีปอดอักเสบร่วมด้วยเสมอ
การวินิจฉัย
ใส่ N – G tube ลงไปได้ไม่ตลอด
X – ray พบลมในกระเพาะอาหาร
การพยาบาล
ก่อนผ่าตัดแก้ไขหลอดอาหาร
จัดท่านอนที่เหมาะสม
พลิกตะแคงตัวบ่อยๆ
0n NG tube ต่อ
Continuous suction
ให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
หลังผ่าตัด
ห้ามใส่สาย NG tube หรือสาย suction
ดูดเสมหะในคอและไม่ควรนอนเหยียดคอ เพราะอาจทำให้หลอดอาหารตึงและแผลผ่าตัดแยก
กระตุ้นให้เด็กร้องบ่อยๆ เพื่อให้ปอดขยายได้ดี
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ , Antibioticตามแผนการรักษา
ภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด
1.gastroesophageal reflux
อาหารหรือนมไหลย้อนจากกระเพาะอาหารสู่หลอดอาหาร
2.aspirated pneumonia
3.esophageal stricture
มักพบในระยะ 5-6 เดือนแรก
Omphalocele/gastroschisis
Omphalocele
ผนังหน้าท้องพัฒนาไม่สมบูรณ์ ทำให้ช่องท้องไม่ปิด มีเยื่อบางๆของ peritoneum, Wharton's jelly, amnion หุ้มอวัยวะที่ออกนอกช่องท้อง
พบได้ประมาณ 1:4,000 ของการคลอด
ลาไส้จะออกมาอยู่ในสายสะดือได้เป็นปกติในช่วงอายุครรภ์ 8-12 สัปดาห์
เกิดจากความบกพร่องของผนังหน้าท้อง
การวินิจฉัย/อาการแสดง
ตรวจultrasound อายุครรภ์ 10 สัปดาห์
หลังคลอดพบผนังหน้าท้องซึ่งมักจะอยู่ขวาต่อสายสะดือเป็นช่องโหว่ มักจะเป็นกระเพาะอาหาร ลาไส้เล็ก ลาไส้ใหญ่ ซึ่งบวม แดง อักเสบ และเกาะ
เด็กอาจตัวเล็ก คลอดก่อนกาหนด
อุณหภูมิกายต่ำ เด็กตัวเย็น จากน้าระเหยจากผิวของลาไส้ ทำให้และสูญเสียน้ำ
การรักษา
omphalocele ขนาดใหญ่ไม่มากอาจใช้แผ่น silastic ปิดทับถุง omphalocele พันด้วยผ้ายืด elastric wrap
การผ่าตัดปิดผนังหน้าท้องตั้งแต่ระยะแรก
โดยดันลำไส้กลับเข้าไปในช่องท้อง แล้วเย็บปิดผนังหน้าท้องโดยและเย็บปิดfascia แล้วเย็บปิดผิวหนังอีกชั้นหนึ่ง
การผ่าตัดปิดหน้าท้องเป็นขั้นตอน (staged closure)
ในกรณีดันลาไส้กลับเข้าในช่องท้องทาให้ผนังหน้าท้องตึง ไม่สามารถเย็บปิด fascia ได้ หรือเย็บปิดแล้วทาให้ช่องท้องแน่นมาก หรือดันลาไส้กลับได้ไม่หมด
การพยาบาล
ก่อนผ่าตัด
keep warm
ระวังการ contaminate โดยต้องใช้ sterile technique พยายามให้ลาไส้ สะอาด
พยายามปั้นประคองกระจุกลาไส้ให้ตั้ง โดยการใช้ผ้า gauze ม้วนพันประคองไว้ไม่ให้ล้ม
ดูแลให้สารน้าทางหลอดเลือดดาตามแผนการรักษา
ดูแลให้ systemic antibiotics ตามแผนการรักษา
หลังผ่าตัด
ดูแลเด็กที่ได้รับการรักษาโดยใช้เครื่องช่วยหายใจประมาณ 24-48 ชั่วโมง
ดูแลให้ได้รับสารน้าสารอาหารตามแผนการรักษา
ติดตามการทางานของลาไส้ ฟัง bowl sound
สังเกตอาการระวังการเกิดAbdominal compartment syndrome
การเกิดท้องอืดอย่างรุนแรง ปัสสาวะออกน้อยลง
gastroschisis
ผนังช่องท้องพัฒนาสมบูรณ์ ไส้เลื่อนสะดือแตกตอนทารกอยู่ในครรภ์ ลาไส้, กระเพาะทะลักออกนอกช่องท้องทางรูด้านข้างสายสะดือไม่มีสิ่งห่อหุ้ม
Imperforated anus
เป็นความพิการแต่กาเนิดที่ไม่มีรูทวารหนักเปิดให้อุจจาระออกจากร่างกายได้หรือรูทวารหนักมีการตีบแคบ
สาเหตุ
ไม่ทราบแน่ชัด
อุบัติการณ์
เกิดขึ้นในอัตราส่วน 1 ใน 4000 ของเด็กเกิดมีชีวิตทั้งหมด
เพศชายพบความผิดปกติของลาไส้ตรงกับท่อปัสสาวะ
เพศหญิงพบความผิดปกติทวารหนักเป็นแบบลาไส้ตรงมีรูทะลุกับเวสติบูลา
ชนิดของความผิดปกติ
Anal stenosis รูทวารหนักตีบแคบ
Imperforate anal membrane มีเยื่อบางๆปิดกั้นรูทวารหนัก
Anal agenesis รูทวารหนักเปิดผิดที่
แบ่งเป็น
Low type
Intermediate type
High type
Rectal atresia ลาไส้ตรงตีบตัน
อาการและอาการแสดง
ไม่มีการถ่ายขี้เทา ภายใน 24 ชั่วโมง
ไม่พบรูเปิดทางทวารหนัก
กระสับกระส่าย อืดอัด ไม่สบายเนื้อสบายตัว
แน่นท้อง ท้องอืด
ปวดเบ่งอุจจาระ
ตรวจพบมีกากอาหารค้างอยู่ในระบบทางเดินอาหาร
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
การตรวจรังสีวินิจฉัย X ray เพื่อประเมินระดับลาไส้ตรง
ultrasound เพื่อตรวจการไหลเวียนและดูอวัยวะภายใน
CT scan ตรวจกระดูก กล้ามเนื้อ อวัยวะภายใน
MRI ตรวจความผิดปกติร่วมของไขสันหลัง
การรักษา
การถ่างขยายทวารหนัก โดยใช้ hegar metal dilators
การผ่าตัด anal membrane ออก ในรายที่สังเกตเห็นขี้เทาทางทวารหนัก
การผ่าตัดตบแต่งทวารหนัก (anoplasty) เมื่อแผลผ่าตัดติดเรียบร้อยแล้วประมาณ 10 วัน ถ่างขยายทวารหนักต่อ
การทาทวารหนักเทียมทางหน้าท้อง เพื่อระบายอุจจาระออก (colostomy)
การผ่าตัดตบแต่งทวาร (anoplasty) ภายหลังผ่าตัดประมาณ 2สัปดาห์ แพทย์จะเริ่มถ่างขยายรูทวารหนัก
ระยะแรก ขยายรูทวารหนักวันละ 1 ครั้ง นาน 1 เดือน
ระยะที่สอง ขยายรูทวารหนักวันละ 1 ครั้ง ทุก 3 วัน นาน 1 เดือน
ระยะที่สาม ขยายรูทวารหนัก 2 ครั้ง ต่อสัปดาห์ นาน 1 เดือน
ระยะที่สี่ ขยายรูทวารหนัก 1 ครั้ง ต่อสัปดาห์ นาน 1 เดือน
ระยะที่ห้า ขยายรูทวารหนัก 1 ครั้ง ต่อเดือน นาน 1 เดือน
การผ่าตัดปิดทวารเทียมทางหน้าท้อง
การพยาบาล
ทาความสะอาดบริเวณแผลผ่าตัดรูทวารหนัก 8-10 วันตามแผนการรักษา
หลังผ่าตัด 3-4 วันหลังถอดสายสวนปัสสาวะ ให้แช่ก้นด้วยน้าอุ่นกระตุ้นการไหลเวียนและลดการอักเสบ
ดูแลความสะอาดผิวหนังรอบๆทวารหนักด้วยน้า
สังเกตการติดเชื้อ ไข้ ปวด บวม แดง ร้อน
ปัญหาที่อาจพบหลังผ่าตัด
ทวารหนักตีบจากกลไกการหดรั้งตัวของแผล
ท้องผูก
กลั้นอุจจาระไม่ได้
Hypospadias/Epispadia
Hypospadias
หมายถึง
รูเปิดท่อปัสสาวะอยู่ต่ากว่าปกติ
การแบ่งความผิดปกติของรูเปิดท่อปัสสาวะ
แบ่งตามตำแหน่ง
Anterior or distal or mild
รูเปิดท่อปัสสาวะมาเปิดทางด้านหน้า หรือ บริเวณส่วนปลายขององคชาต มีรูเปิดต่ากว่าปกติเพียง เล็กน้อย
เปิดที่บริเวณ glanular, coronal, subcoronal พบร้อยละ 50-60
Middle or moderate
รูเปิดท่อปัสสาวะอยู่กลางขององคชาต
เปิด distal penile, midshaft, proximal penile พบร้อยละ 30
Posterior or proximal or severe
รูเปิดท่อปัสสาวะอยู่ที่ใต้องคชาต
บริเวณ penoscrotal, scrotal, perineal เป็นความผิดปกติมาก พบร้อยละ 20 ของ
การรักษา
เด็กที่มีรูเปิดของท่อปัสสาวะต่ากว่าปกติ เพียงเล็กน้อยไม่จาเป็นต้องได้รับการผ่าตัด
เด็กที่มีความผิดปกติมากต้องรักษาโดยการผ่าตัดตกแต่งท่อปัสสาวะเพื่อให้รูเปิดท่อปัสสาวะอยู่ ในตาแหน่งปกติ
เวลาที่เหมาะในการทาผ่าตัดจะอยู่ในช่วง อายุ 6-18 เดือน แต่ไม่ควรเกิน 2 ปี เนื่องจากเด็กเริ่ม เรียนรู้เรื่องเพศ
ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
เลือดออก
เกิดการตีบตันของรูเปิดท่อปัสสาวะ/ท่อปัสสาวะบริเวณแผลเย็บที่สร้างท่อปัสสาวะใหม่
องคชาตยังโค้งงอ แก้ไขได้ด้วยการผ่าตัด
เกิดการติดเชื้อ
การพยาบาล
ก่อนการผ่าตัด
อธิบายขั้นตอนการเตรียมการก่อนผ่าตัด เช่น การงดน้างดอาหาร ให้เด็ก บิดามารดา/ ผู้ปกครองเข้าใจถึงความสาคัญของการงดน้าและอาหารทุกชนิดทางปาก เพื่อป้องกันอันตรายที่อาจถึงแก่ชีวิต
ประเมินความวิตกกังวล
หลังผ่าตัด
จัดให้เด็กนอนในท่าสบาย ให้สายอยู่บริเวณหน้าท้องหรือต้นขาไม่ให้ถูกดึงรั้งหักพับและถุงปัสสาวะอยู่ต่ากว่ากระเพาะ
ประเมินความปวดของเด็กให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษาของแพทย์
เก็บปัสสาวะส่งตรวจเพาะเชื้อตามแผนการรักษาอย่างเคร่งครัด
ใช้เทคนิคปลอดเชื้อในการทาแผลและการเทปัสสาวะออกจากถุงปัสสาวะ
ประเมินบริเวณสาย cystostomy ไม่ให้เกิดการติดเชื้อ
ให้บิดามารดา/ผู้ปกครองอยู่ดูแลเด็กอย่างใกล้ชิด อธิบายให้เข้าใจถึงสภาพเด็กที่มีแผลผ่าตัด
คำแนะนำการปฏิบัติตัวเมื่อกลับบ้าน
บิดามารดา/ผู้ปกครองต้องกระตุ้นให้เด็กดื่มน้ามากๆ ทุกวัน
ดูแลแผลผ่าตัดไม่ให้เปียก ทาความสะอาด ร่างกายเด็กด้วยการเช็ดตัว ห้ามอาบน้าในอ่าง สวมเสื้อผ้าหลวมๆ
แนะนาและสาธิตให้บิดามารดา/ผู้ปกครอง ทราบวิธีการดูแลความสะอาดองคชาตที่คาสายสวนปัสสาวะ ไว้โดยใช้น้ายาฆ่าเชื้อ (antiseptic solution) ทาความสะอาดปลายองคชาต วันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น ดูแลให้ถุงปัสสาวะอยู่ต่ากว่ากระเพาะปัสสาวะ และเป็นระบบปิดเสมอ
ทาความสะอาดให้เด็กภายหลังการถ่ายอุจจาระ ทุกครั้งเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
อธิบายอาการติดเชื้อ เช่น มีไข้ แผลแดงอักเสบ ปัสสาวะขุ่นมีตะกอนและกลิ่นเหม็น ควรมาพบแพทย์ทันที
ภายหลังการเอาสายสวนปัสสาวะออก ให้สังเกต ปริมาณปัสสาวะ ลักษณะการถ่ายปัสสาวะเป็นลาพุ่งดีหรือไม่ ปัสสาวะปกติเป็นสีชาอ่อนๆ การถ่ายปัสสาวะออกลาบากหรือไม่
Epispadia
หมายถึง
รูเปิดท่อปัสสาวะอยู่ด้านบน
เป็นความผิดปกติที่รูเปิดท่อปัสสาวะไปเปิดที่ด้านบนขององคชาต อาจพบ ร่วมกับ ความผิดปกติอื่นๆ
ผลกระทบ
ปัสสาวะไม่พุ่งเป็นลาไปด้านหน้า แต่กลับไหลไปตามถุงอัณฑะหรือด้านหน้าของต้นขา
องคชาตคดงอเมื่อมีการแข็งตัว ถ้างอมากอาจทำให้ร่วมเพศไม่ได้ ในอนาคต หรือเวลาหลั่งน้ำอสุจิไม่พุ่งมีทำให้มีบุตรยาก
องคชาตดูแตกต่างจากปกติ ทาให้เด็กสูญเสียความมั่นใจ