Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Disorder of Respiratory system, นางสาววรรณวิศา เสือด้วง 634N46131 - Coggle…
Disorder of Respiratory system
อาการแสดงของภาวะพร่องออกซิเจน
ระบบประสาท
กระสับกระส่าย, สับสน, ซึม. พูดไม่รู้เรือง รุนแรงมากข้ึน เกียวข้องกับระดับ hypoxemia
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
กระตุ้น Sympathetic ท่าให้ cardiac output เพิมขึ้น(SV, HR)
เกิดการสลายของกลูโคสมาใช้มากขึ้น
หลอดเลือดตีบ ท่าให้เพิมปริมาณเลือดไปสมองและหัวใจ
หากขาดออกซิเจนเรื้อรัง ร่างกายจะปรับโดยการเพิมขนาดของหลอดเลือด ให้เลือดไปเลี้ยงมากขึ้น มักพบ clubbing finger และเพิม 2,3diphosphoglycerate ใน RBC ท่าให้เนื้อเยือได้รับ O2 มากขึ้น
Hypoxia inducible factor (HIF): กระตุ้นให้ยีนทีสร้าง vascularendothelial growth factor (VEGF) ให้มีการสร้างเส้นเลือดใหม่และยีนที่สร้าง erythropoietin (EPO) ซึงกระตุ้นให้ไขกระดูกสร้างเม็ดเลือดแดงมาก
ระบบหายใจ
ระยะแรกท่าให้หายใจเร็ว แรง มีการใช้ กล้ามเน้ือช่วยในการหายใจ
ผลต่อไต
เมื่อ O2 ต่ำ ร่วมกับ lactic acidosis ทำให้เลือดไปเลี้ยงไตลดลง จากการส่งเลือดน้อยลง ท่าให้ GFR ลดลง
ไตหลัง renin erythropoietin factor(REF) ซึง REF เป็น precusor ของ erythropoietin ไปกระตุ้น bone marrow มาก สร้าง RBC มากขึ้น หากนานมากขึ้นพบ RBC เกิน ส่งผลให้ systemic vascular resistance สูง เกิด pulmonary hypertension ได้
ผลต่อตับ
เมือ O2 ต่า ท่าให้ตับเกิด centrilobular fibrosis
ผลต่อกล้ามเนื้อลาย
กล้ามเนื้อลายสามารถดึง O2 มาใช้ได้มากกว่าเน้ือเยื่ออื่นๆ
สามารถดึงพลังงานที่เก็บในรูป creatinine phosphate มา
ใช้ได้ นอกจากน้ียังสามารถสลายน้ำตาลได้ดี (glycolysis) ระยะ ท้ายจะทำให้การหดตัวลดลงได้ กล้ามเนื้ออ่อนแรงลง
ภาวะหายใจล้มเหลว
ชนิดของหายใจล้มเหลว
การถ่ายออกซิเจนล้มเหลว
การระบายอากาศล้มเหลว
กลไกการเกิดหายใจล้มเหลว
hypoventilation หายใจช้า ตื้น tidal volume VT ลดลง เกิดภาวะ Hypercapnia
diffusion defect ถุงลมบวม/หนา พังผืดที่ถุงลม
V/Q mismatch
shunt มักมี PaO2ต่ำ เพราะไม่มีการแลกเปลี่ยนก๊าซ เช่น ปอด แฟบ ปอดอักเสบ น้ำท่วมปอด
อาการหายใจล้มเหลว
PaO2 ลดลง
ในระยะแรก เหงื่อออก กระสับกระส่าย หัวใจเต้นผิดจังหวะมี
การกระตุ้นศูนย์ควบคุมการหายใจ ทำให้หายใจเร็วและตื้น เหนื่อย
ระบบประสาทส่วนกลาง สับสน เปลี่ยนแปลงระดับความรู้สึกตัว และการรับรู้
ระบบไหลเวียนเลือด หัวใจบีบตัวช้า เต้นผิดจังหวะ ความแรง ลดลงความดันโลหิต ต่ำลง
เนื้อเยื่อ เขียวคล้ำ
ไต สร้าง erythropoitin เพิ่ม ทำให้มีเม็ดเลือดแดงเพิ่มขึ้น
PaCO2 เพิ่ม
ระยะแรก หลอดเลือดดำขยายตัว ทำให้ความดันโลหิตต่ำลง ปวดศีรษะ วิงเวียน
ระยะหลัง กดการทำงานของสมอง ท่าให้สับสน ซึม
ระยะท้าย กล้ามเน้ือสันหรือกระตุก
นางสาววรรณวิศา เสือด้วง 634N46131