Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
จิตวิทยาการศึกษา - Coggle Diagram
จิตวิทยาการศึกษา
พัฒนาการของมนุษย์เกี่ยวกับการเรียนการสอน :
2.ทฤษฎีพัฒนาการของบรูเนอร์ (Bruner)
เราสามารถจะสอนวิชาใดๆก็ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้วิธีการที่เหมาะสมให้กับระดับอายุ และความคิดของเด็กในวัยนั้น
3.ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจท์ (Piaget)
ขั้นการพัฒนาการทางความคิด 4 ขั้นดังนี้
แรกเกิดถึง 2 ขวบ เป็นระยะที่พัฒนาการทางสติปัญญาและความคิดของเด็กเกิดขึ้นจากการใช้ประสาทสัมผัสต่างๆ
อายุ 11-15 ปี พัฒนาการของเด็กในขั้นนี้โครงสร้างของความคิดจะพัฒนาได้มาถึงขั้นสุด เด็กจะเริ่มเข้าใจกฎเกณฑ์ทางสังคมได้ดีขึ้น สามารถเรียนรู้โดยใช้เหตุผลมาอธิบายและแก้ไขปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นได้
อายุ 7-11 ปี พัฒนาการของเด็กวัยนี้สามารถใช้สมองคิดได้อย่างมีเหตุผลเชิงรูปธรรม
อายุ 2-7 เด็กในขั้นนี้จะเริ่มแสดงสัญลักษณ์ที่สร้างขึ้นในสมองออกมาเป็นคำพูดและจินตนาการ
1.ทฤษฎีพัฒนาการของกลีเซล (Gesell)
ความพร้อมเป็นเรื่องของธรรมชาติ เมื่อถึงวัยอันเหมาะสมเด็กจะมีความพร้อมและเด็กจะกระทำพฤติกรรมต่างๆได้เองโดยไม้องฝึกหัดหรือบังคับ
4.ทฤษฎีพัฒนาการด้านจิตใจของอิริคสัน(Erikson)
มีแนวคิดว่ามนุษย์ต้องพึ่งสังคม และสังคมก็ต้องพึ่งมนุษย์ และมนุษย์มีวิวัฒนาการที่สลับซับซ้อน และผ่านขั้นตอนต่างๆของธรรมชาติหลายขั้นตอน อิริคสันจึงเห็นว่าพัฒนาการเป็นเรื่องทาง Psychosocial มากกว่า Phychosexual โดยมีขั้นพัฒนาการทางบุคลิกภาพ 8 ขั้น
การเรียนรู้
2.กลุ่มที่เน้นความสำคัญของการคิด
2.1 ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัลท์ (Gestalt)
มีกฎสำคัญ 4 ประการดังนี้
4.กฎแห่งความแน่นอนหรือชัดเจน
1.กฎแห่งการสิ้นสุด
3.กฎแห่งความคล้ายคลึงกัน
2.กฎแห่งความต่อเนื่องหรือความใกล้เคียง
1.กลุ่มที่มองเห็นว่าการเรียนรู้เกิดขึ้น เนื่องจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและปฏิกิริยาตอบสนอง
1.6 ทฤษฎีการเสริมแรงของฮัล
(Hull’s Reinforcement Theory)
แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ 3 ประการขงฮัล ดังนี้ 1.การเรียนรู้เกิดขึ้นได้โดยการกระทำแรงขับที่เกิดจากความต้องการของร่างกาย
2.การที่จะทำให้ความต้องการลดลง
3.การเรียนรู้จะดำเนินไปในลักษณะที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ และเพิ่มเป็นระยะๆ
1.1 ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของพาฟลอฟ
จัดอยู่ในกลุ่ม ประเภทสิ่งเร้า(s) ซึ่งกลุ่มนี้จะต้องมีตัวเสริมแรงมาก่อนแล้วจะค่อยๆแสดงพฤติกรรมออกมา
1.5ทฤษฎีความต่อเนื่องของกัทธรี
(Guthrie’s Contiguity Theory)
มีหลักการเรียนรู้ดังนี้
1.เกี่ยวกับการฝึกหัด : เขาเชื่อว่าการเรียนรู้เกิดจากการกระทำเพียงครั้งเดียว อินทรีย์สามารถจะเรียนรู้สิ่งนั้นได้โดยสมบูรณ์ ซึ่งไม่จำเป็นต้องฝึกหัดหรือกระทำซ้ำๆ
2.เกี่ยวกับเรื่องแรงขับและแรงจูงใจ
3.การให้รางวัล
1.2 ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของวัตสัน
จัดอยู่ในกลุ่ม ประเภทสิ่งเร้า(S) ซึ่งกลุ่มนี้จะต้องมีตัวเสริมแรงมาก่อนแล้วจะค่อยๆแสดงพฤติกรรมออกมา
1.4 ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่องโยงของธอร์นไดค์
(The Connectionism)
จักอยู่ในกลุ่ม ประเภทการตอบสนอง(R) ซึ่งกลุ่มนี้ต้องมีการแสดงพฤติกรรมออกมาก่อนถึงจะได้ตัวเสริมแรง โดยเชื่อว่าการเรียนรู้เบื้องต้นของสิ่งมีชีวิตจะใช้วิธีการเรียนรู้แบบลองผิดลองถูก
1.3 ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการวางเงื่อนไขแบบการกระทำของสกินเนอร์
จัดอยู่ในกลุ่ม ประเภทการตอบสนอง(R) ซึ่งกลุ่มนี้ต้องมีการแสดงพฤติกรรมออกมาก่อนถึงจะได้ตัวเสริมแรง โดยสกินเนอร์ได้จำแนกพฤติกรรมการเรียนของมนุษย์ออกเป็น 2 ลักษณะคือ 1.พฤติกรรมที่เกดเนื่องจากมีสิ่งเร้าภายนอกมากระตุ้น 2.พฤติกรรมที่เกิดจากตัวผู้เรียนเป็นผู้ลงมือกระทำ
แรงจูงใจและแรงขับ
1.ทฤษฎีความต้องการองมนุษย์ตามลำดับขั้นของมาสโลว์ (Maslow’s Hierarchy of Need)
1.ความต้องการทางกาย
2.ความต้องการความปลอดภัย
3.ความต้องการความรักและความเป็นเจ้าของ
ความต้องการที่จะได้รับการยกย่อง
5.ความต้องการที่เกิดจากการตระหนักแท้ในตนเอง
6.ความต้องการที่จะรู้และเข้าใจ
7.ความต้องการด้านสุนทรียภาพ
ความแตกต่างระหว่างบุคคล
1.ทฤษฎีความแตกต่างระหว่างบุคคลของกาเย่
บุคคลมีความแตกต่างกันหลายประการ เช่น บุคลิกภาพ ทัศนคติ สติปัญญา และความสนใจ ซึ่งความแตกต่างนี้ยังขึ้นอยู่กับสภาพสังคมและวัฒนธรรมทำให้มีพฤติกรรมการสื่อสาและการเลือกเปิดรับสารที่แตกต่างกัน ได้แก่
4.การเรียนรู้สิ่งแวดล้อมทำให้เกิดทัศนคติ ค่านิยม และความเชื่ที่รวมเป็นลักษณะทางจิตวิทยาส่วนบุคคลที่แตกต่างกันไป
1.มนุษย์เรามีความแตกต่างกันมากในองค์ประกอบทางจิตวิทยาส่วนบุคคล
3.มนุษย์ถูกเลี้ยงภาพใต้สภาพการณ์ต่างๆ จะเปิดรับความคิดเห็นต่างกันออกไป
2.ความแตกต่างนี้บางส่วนมาจารลักษณะแตกต่างทางร่างกายของแต่ละบุคคล