Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.9/5.10 โรคซึมเศร้าและอารมณ์ 2 ขั้น - Coggle Diagram
5.9/5.10 โรคซึมเศร้าและอารมณ์ 2 ขั้น
โรคซึมเศร้า
(Depressive disorder)
ซึม ไม่พูด เฉยชา นั่งซึม แยกตัว
อารมณ์แปรปรวน
(Mood disorders)
มีอารมณ์เศร้ามากกว่าปกติ อ่อนเพลีย
ร้องไห้ อยากตายหรือ
มีอารมณืดีมากผิดปกติ ครื้นเครง พูดมาก
ระยะแรกพบในลักษณะอาการซึมเศร้า
พบวัยหนุ่มสาวมากขึ้น
รักษาหายได้ 80-90% ถ้ารักษาตั้งแต่แรกๆ
อารมณ์เศร้า
(Depression)
เศร้า หดหู่ สะเทือนใจ ร้องไห้โดยไม่มีเหตุผล
เบื่อหนายสังคม ท้อแท้ ซึมเฉย มองโลกแง่ร้าย
ตำหนิตนเอง รู้สึกมีทุกข์มากไม่มีใครช่วยได้และอยากตาย
อารมณ์คลุ้มคลั่ง
(Mania)
ครื้นเครงมากกว่าปกติ อารมณ์ดี หัวเราะร่าเริงโดยไม่มีเหตุผล คิดว่าตนเองเป็นใหญ่ พูดจาสับสน เปลี่ยนเรื่องบ่อย หงุดหงิด โกรธง่าย ตกใจง่าย คุมตัวเองไม่ได้
ปัจจัยสาเหตุอารมณ์แปรปรวน
ด้านชีวภาพ
เศร้าจะมี Norepinephrin ต่ำ
คลุ้มคลั่งจะมี Norepinephrin สูง
สารละลาย Na&K ในและนอกเซลล์ประสาทไม่สมดุล
ความผิดปกติของการเผาผลาญสารชีวเคมีบางตัว
พันธุกรรม
บุตร 50-70% มีโอกาสเป็นถ้าทั้งพ่อและแม่เป็นโรคนี้
ฝาแฝดไข่ใบเดียวกัน
ด้านจิตสังคม
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของ Freud
ทฤษฎีพัฒนาการและประสบการณ์การเรียนรู้
ด้านการคิดรู้
ความคิดเกี่ยวกับตนเองทางลบ
คิดโทษตนเอง ทำร้ายตนเอง
จำแนกโรคอารมณ์แปรปรวน
1. โรคซึมเศร้า
(Depressive disorder)
1.1 โรคซึมเศร้ารุนแรง
(Major depressive disorder)
ดูที่อาการแสดงครั้งเดียวหรือกลับเป็นอีกมากกว่า 2 ครั้ง
พิจารณาตางระดับความรุนแรง
มีอาการโรคจิตชัดเจน สูญเสียการรับรู้
ความจริง หลงผิด ประสาทหลอน
ซึมเศร้าเรื้อรัง ต่อเนื่องและนานอย่างน้อย 2 ปีขึ้นไป
มีอาการของโรคที่เกิดขึ้นตามฤดูกาล
เป็นโรคซึมเศร้าหลังคลอดโดยมีอาการภายใน
4 สัปดาห์หลังคลอด
1.2 โรคซึมเศร้าดิสไธมิก
(Dysthymic disorder)
อาการซึมเศร้าน้อยกว่ารุนแรง
มีอารมณ์เศร้าตั้งแต่วัยเด็กหรือวัยรุ่น
เป็นมาไม่น้อยกว่า 2 ปี
มี 2 ลักษณะ
Early onset
(เป็นก่อนอายุ 21)
Late onset
(เป็นหลังอายุ 21 ปี)
เกณฑ์การวินิจฉัย
มีอารมณ์เศร้าเกือบทั้งวันมากกว่า 1 วัน
และเป็นมาไม่น้อยกว่า 2 ปี (ในเด็กและวัยรุ่น 1 ปี)
อาการต่อจากกนี้มากกว่า 2 อาการ
ความอยากอาหารลดลงหรือมากกว่าปกติ
นอนไม่หลับหรือนอนมากเกิน
อ่อนเพลีย ไม่มีแรง
ความรู้สึกคุณค่าในตนเองต่ำ
สมาธิเสีย ตัดสินใจลำบาก
สิ้นหวัง
ในช่วง 2 ปีอาจมีอาการในข้อที่1และ2 นานเกิน 2 เดือน
ไม่มีอาการของโรคซึมเศร้ารุนแรงใน 2 ปี
ไม่มีอาการคลุ้มคลั่ง อาการผสมหรือคลุ้มคลั่งระดับต่ำหรือเข้าเกณฑ์ของโรค cyclothymia
ความผิดปกติต้องยแกออกจากโรคจิตชนิดอื่นๆ
อาการแสดงต้องไม่ใช่เกิดจากผลของยาเสพติดหรือยารักษาโรคทางกาย
อาการแสดงต้องมีลักษณะเด่นด้านความล้มเหลว
ในการเข้าสังคมและการประกอบอาชีพ
1.3 โรคซึมเศร้าในช่วงก่อนมีประจำเดือน
(Premenstrual disphoric disorder)
DSM-V ไม่ได้รวมการวินิจฉัยโรคนี้อย่างเป็นทางการ
เศร้า วิตกกังวลเด่น อาการขึ้นๆลงๆ
กดดันในสัปดาห์ที่มีประจำเดือน
อาการรบกวนการทำงาน การเรียน กิจวัตรประจำวัน
อาการเกิดขึ้นประจำในช่วงรอบเดือนส่วนใหญ่ของปีที่ผ่านมา
2. โรคอารมณ์คลุ้มคลั่งสลับเศร้า
(Bipolar disorders)
2.1 Bipolar I
อารมณ์เศร้าหรือแบบผสม
เคยมีอาการเศร้ามาก่อน
การวินิจฉัยมุ่งที่อาการแสดงปัจจุบันหรืออาการที่ผ่านมา
ในช่วงการเจ็บป่วยครั้งปัจจุบัน
2.2 Bipolar II
อารมณ์เศร้า สนุก ครื้นเครง
ตามเกณฑ์การวินิจฉัยอาการคลุ้มคลั่งและอาการผสม
ไม่เคยมีอาการเหล่านี้มาก่อน
2.3 Cyclothymic disorder
มีอาการปรากฏเป็นช่วงๆอย่างน้อยเป็นเวลา 2 ปี
คลุ้มคลั่งและเศร้า อาการอาจไม่ครบเกณฑ์
การวินิจฉัยโรคซึมเศร้ารุนแรง
ในช่วงเวลา 2 ปี อาจไม่มีอาการตามเกณฑ์นานถึง 2 เดือน
ไม่มีอาการซึมเศร้ารุนแรง โรคคลุ้มคลั่งและอาการผสมเกิดขึ้นในช่วง 2 ปีแรก
ไม่ใช่อาการที่รวมอยู่ในอาการของโรคจิตเภท
ไม่ใช่ผลจากอาการทางกายหรือผลจากการใช้ยา
ในการรักษาโรคทางกาย
การบำบัดรักษาอารมณ์แปรปรวน
การรักษาด้วยยา
ยาต้านอาการเศร้า(Antidepressant)
Amitriptyline
Nortriptyline
ยารักษาโรคอารมณ์คลุ้มคลั่ง
Chlorpromazine
Haloperidol
Lithium
การรักษาด้วยไฟฟ้า
ผู้ป่วยมีอาการเศร้ารุนแรง พยายามทำร้ายตนเอง
รับการรักษาทางยาแล้วไม่ได้ผล
มีอาการหลงผิด ประสาทหลอน
การรักษาด้วยจิตบำบัด
สัมพันธภาพทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม
วิเคราะห์สภาพปัญหาและหาแนวทางแก้ไข
การใช้สัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
ยอบรับผู้ป่วย
สื่อสารด้วยความเห็นใจและเข้าใจ
ให้ผู้ป่วยได้ระบายปัญหา
ให้ข้อเสนอแนะหรือทางเลือกแก่ผู้ป่วยและครอบครัวพิจารณา
ป้องกันอันตราย สังเกตและูแลผู้ป่วยใกล้ชิด
เสริมสร้างความมั่นคงและเข้มแข็ง
ส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพจิต
การพยาบาล
อารมณ์เศร้าตามสถานการณ์
(Transient depression)
เศร้าเมื่อบุคคลรู้สึกผิดหรือเผชิญกับสถานการณ์
ปัญหาในชีวิตประจำวันที่ผิดหวัง
อารมณ์เศร้าระดับต่ำ
(Mild depression)
เศร้าที่เริ่มเบี่ยงเบนจากความเศร้าปกติ
มีอาการต่อเนื่องและเพิ่มขึ้นกว่าระดับแรก
อารมณ์เศร้าระดับกลาง
(Moderate depression)
อารมณ์เศร้าที่แสดงถึงปัญหาการปรับตัวเพิ่มสูงขึ้น
เริ่มมีความผิดปกติ
อารมณ์เศร้าระดับรุนแรง
(Severe depression)
เป็นอารมณ์เศร้าที่มากและรุนแรง
กระบวนการพยาบาล
1. อารมณ์ซึมเศร้า
การวินิจฉัยการพยาบาล
พฤติกรรมเสี่ยง
การสูญเสียหน้าที่การงาน
ขาดความสนใจในการดูแลตนเอง
การวางแผนการพยาบาล
ระยะสั้น
สร้างสัมพันธภาพและส่งเสริมการปรับตัว
การป้องกันอันตราย
การส่งเสริมพฤติกรรมที่ดีและพัฒนาคุณค่าในตนเอง
การดูแลช่วยเหลือด้านสรีรวิทยา
ระยะยาว
การพัฒนาคุณค่าในตนเอง การปรับตัวและเผชิญหน้ากับปัญหา
ส่งเสริมความรู้สึกพอใจในตนเอง
การพยาบาล
ป้องกันอันตราย
ใช้เทคนิคสื่่อสารและสร้างสัมพันธภาพ
สอนผู้ป่วย
ให้คำปรึกษา
พัฒนาพฤติกรรมที่เหมาะสม
แนะนำแหล่งบริการที่สะดวกสำหรับผู้ป่วยและครออบครัว
ประเมินผลทางการพยาบาล
2. อารมณ์คลุ้มคลั่งสลับเศร้า
การประเมินภาวะสุขภาพ
อารมณ์
พฤติกรรม
ความรู้สึกนึกคิด
สรีรวิทยา
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการได้รับอุบัติเหตุ
การดูแลสุขอนามัยบกพร่อง
การวางแผนการพยาบาล
ระยะสั้น
ความปลอดภัยของผู้ป่วยจากการทำร้ายตนเอง
การป้องกันภาวะที่มีพฤติกรรมรุนแรง
การดูแลด้านสรีรวิทยา
ระยะยาว
ด้านสัมพันธภาพ
การป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
การปฏิบัติการพยาบาล
ดูแลความปลอดภัย
เทคนิคการสร้างสัมพันธภาพ
ให้คำปรึกษาแก่ผู้ป่วยและครอบครัว
พัฒนาทักษะการดูแลตนเอง
ใช้เทคนิคการสอน การปรับตัวและการดำเนินชีวิตที่เหมาะสม
การประเมินผลทางการพยาบาล