Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.7 บุคคลที่มีกลุ่มโรคจากเหตุสะเทือนขวัญและความเครียด - Coggle Diagram
5.7 บุคคลที่มีกลุ่มโรคจากเหตุสะเทือนขวัญและความเครียด
ความหมาย
post-traumatic stress disorder : PTSD
โรคพบที่ได้ภายหลังการประสบเหตุการณ์ในชีวิตแบ่งออกเป็นโรคชนิดต่างๆหลากหลายโรคด้วยกัน ตามระยะเวลาและความรุนแรงของเหตุการณ์ที่มากระทบ
ลักษณะอาการและอาการแสดง
adjustment disorder
ตอบสนองภายใน 3 เดือนนับเริ่มต้น
ความกดดันที่เกิดขึ้นในชีวิตที่พบได้ในชีวิตประจำวัน
ความกดดันที่เกิดขึ้นในชีวิตที่เกิดตามพัฒนาการ
acute stress disorder: ASD
3 วันขึ้นไปจนถึง 1 เดือนหลังเผชิญเหตุการณ์
1) มีอาการในรูปแบบต่าง ๆเกี่ยวกับเหตุการณ์สะเทือนขวัญที่เผชิญมผุดขึ้นมาซ้ำ ๆ
(intrusion) ตั้งแต่ 1 ข้อต่อไป
ความทรงจำเกี่ยวกับเหตุการณ์
มีการฝันถึงเนื้อหาหรืออารมณ์ที่มีความเกี่ยวข้อง
กับเหตุการณ์
มีการกระทำหรือมีความรู้สึกเหมือนกับว่า
กำลังเกิดขึ้นอีก (flashback)
มีความทุกข์ใจอย่างหนักและยาวนานในการตอบสนอง
มีปฏิกิริยาการตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เป็นสัญลักษณ์หรือคล้ายเหตุการณ์
2) มีความนึกคิดและอารมณ์เปลี่ยนไปในทางลบ
(negative mood and dissociation)
ตั้งแต่ 2 ข้อต่อไป
ไม่สามารถระลึกถึงส่วนสำคัญของเหตุการณ์สะเทือนขวัญนั้น
มีความเชื่อและความคาดหวังกับตัวเอง คนอื่น และโลกภายนอกในแง่ลบอย่างเกินจริงตลอด
มีความคิดเกี่ยวกับสาเหตุและผลกระทบของเหตุการณ์สะเทือนขวัญนั้นบิดเบือนไปจากความ
เป็นจริงอย่างต่อเนื่อง
มีสภาวะอารมณ์ทางลบอย่างต่อเนื่อง เช่น
กลัว โกรธ อาย รู้ผิด
ความสนใจหรือมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ
ลดลงอย่างมาก
รู้สึกแปลกแยกจากผู้อื่น
ไม่สามารถรู้สึกถึงอารมณ์ทางบวกได้ เช่น
ไม่รู้สึกสุข, พอใจ, รัก
3) มีพฤติกรรมหลีกเลี่ยงเมื่อเจอสิ่งเร้าที่สัมพันธ์กับเหตุการณ์สะเทือนขวัญนั้นตั้งแต่ 1 ข้อขึ้นไป
หลีกเลียงหรือพยายามจะเลี่ยงความทรงจำ ความคิด ความรู้สึกเกี่ยวกับเหตุการณ์
หลีกเลียงสิ่งภายนอกที่ทำให้นึกถึงเหตุการณ์
สะเทือนขวัญนั้น
4) มีอาการตื่นตัวเปลี่ยนไปอย่างมากหลังประสบเหตุการณ์สะเทือนขวัญนั้นตั้งแต่ 2 ข้อขึ้นไป
หงุดหงิดและโกรธง่าย
มีพฤติกรรมบ้าบิ่น หรือทำร้ายตัวเอง
ระแวดระวังมากไป
ตกใจมากกว่าปกติ
ปัญหาด้านสมาธิ
ปัญหาการนอน เช่น หลับยาก, หลับไม่สนิท
post-traumatic stress disorder: PTSD
ตั้งแต่ 3 เดือนขึ้นไปบางรายอาจช้าเป็นปีก็ได
อาการแสดงดังต่อไปนี้มากกว่า 1 เดือน
1) มีอาการในรูปแบบต่าง ๆ
(intrusion) ตั้งแต่ 1 ข้อขึ้นไป
มีความทรงจำซึ่งทำให้เป็นทุกข์เกี่ยวกับเหตุการณ์
มีการฝันถึงเนื้อหาหรืออารมณ์ที่มีความเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์
มีการกระทำหรือมีความรู้สึกเหมือนกับว่าเหตุการณ์
กำลังเกิดขึ้นอีก (flashback)
มีความทุกข์ใจอย่างหนักและยาวนานในการตอบสนอง
มีปฏิกิริยาการตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เป็นสัญลักษณ์
หรือคล้ายเหตุการณ์
2) มีความนึกคิดและอารมณ์เปลี่ยนไปในทางลบ
(negative mood and dissociation) ตั้งแต่ 2 ข้อต่อไป
ไม่สามารถระลึกถึงส่วนสำคัญของเหตุการณ์สะเทือนขวัญนั้น
มีความเชื่อและความคาดหวังกับตัวเอง คนอื่น
มีความคิดเกี่ยวกับสาเหตุและผลกระทบของเหตุการณ์สะเทือนขวัญนั้นบิดเบือนไปจากความเป็นจริงอย่างต่อเนื่อง
มีสภาวะอารมณ์ทางลบอย่างต่อเนื่อง
ความสนใจหรือมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ลดลงอย่างมาก
รู้สึกแปลกแยกจากผู้อื่น
ไม่สามารถรู้สึกถึงอารมณ์ทางบวกได้
3) มีพฤติกรรมหลีกเลี่ยงเมื่อเจอสิ่งเร้าที่สัมพันธ์กับเหตุการณ์สะเทือนขวัญนั้นตั้งแต่ 1 ข้อขึ้นไป
หลีกเลียงหรือพยายามจะเลี่ยงความทรงจำ ความคิด
ความรู้สึกเกี่ยวกับเหตุการณ
หลีกเลียงสิ่งภายนอกที่ทำให้นึกถึงเหตุการณ์สะเทือนขวัญนั้น
4) มีอาการตื่นตัวเปลี่ยนไปอย่างมากหลังประสบเหตุการณ์สะเทือนขวัญนั้นตั้งแต่ 2 ข้อขึ้นไป
หงุดหงิดและโกรธง่าย
บ้าบิ่น หรือทำร้ายตัวเอง
ระแวดระวังมากไป
ตกใจมากกว่าปกติ
ปัญหาด้านสมาธิ
ปัญหาการนอน
สาเหตุของกลุ่มโรค
adjustment disorder
ด้านชีวภาพ
ประวัติความเจ็บป่วยรุนแรง
เรื้อรัง
ทุพพลภาพ
ปัจจัยทางจิตสังคม
ความสัมพันธ์ร่วมกันของลักษณะภาวะความกดดันที่เกิดขึ้น
ผู้ที่มีพื้นอารมณ์แต่กำเนิดที่มีความวิตกกังวล
ความเปราะบางทางจิตใจของบุคคล
acute stress disorder: ASD
post-traumatic stress disorder: PTSD
ด้านชีวภาพ
norepinephrine และdopamine
มีการใช้สารเสพติดหรือความผิดปกติด้านระบบประสาทอัตโนมัติที่ไวเกินไป
มีการหลั่ง glucocorticoid ออกมามากจากการทำลายเซลล์บริเวณ hippocampus receptor
ทางจิตสังคม
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์
ทฤษฎีทางความคิดและพฤติกรรม
การบำบัดรักษา
adjustment disorder
1) การบำบัดด้วยยา
benzodiazepine
2) การบำบัดทางจิตใจ
acute stress disorder: ASD
1) การบำบัดด้วยยา
ยาในกลุ่ม SSRIs เช่น sertraline, paroxetine
ยาในกลุ่ม TCAs เช่น amitriptyline, imipramine
2) การบำบัดทางจิตใจ
แนะนำวิธีการปรับตัว
การให้กำลังใจ
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยได้พูดระบายความคิด ความรู้สึก
relaxation techniques
post-traumatic stress disorder: PTSD
exposure therapy
stress management
eye movement desensitization and reprocessing : EMDR
การพยาบาลบุคคลที่มีกลุ่มโรค
1) การประเมินสภาพ
ครอบคลุมทั้งด้านร่างกาย
อารมณ์ และความคิด
2) การวินิจฉัยทางการพยาบาล
การปฏิบัติกิจวัตรประจำวันบกพร่อง
หวาดกลัวจนไม่สามารถประกอบกิจวัตรประจำวัน
ขาดความมั่นใจในตนเอง
แยกตัวจากสังคม กลัวการเข้าสังคม
การเผชิญปัญหาไม่มีประสิทธิภาพ
การรับรู้ ความคิด และสมาธิบกพร่อง
มีอารมณ์ซึมเศร้าหรือพยายามทำร้ายตนเอง
3) การวางแผนและการปฏิบัติทางการพยาบาล
เข้าใจและสามารถระบายปัญหาความกดดัน
ทางจิตใจออกมาได้
มีวิธีการแก้ปัญหาได้ดีขึ้น
สร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
4) การประเมินผลทางการพยาบาล