Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดินอาหาร, นางสาวกัณนิภา นักร้อง รหัสนักศึกษา…
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดินอาหาร
Antidiarrhea drugs (ยาแก้ท้องเสีย)
ท้องเสียหรืออุจจาระร่วง หมายถึง อาการที่ถ่ายอุจจาระเหลวหรือถ่ายเป็นน ้าตั้งแต่ 3 ครั้งขึ้นไป หรือถ่ายเป็นมูกเลือดตั้งแต่ 1 ครั้งขึ้นไป ภายใน 24 ชั่วโมง อาการเหล่านี้หากมีอาการไม่เกิน 2 สัปดาห์ จะเรียกว่า ท้องเสียเฉียบพลัน แต่หากนานเกิด 2 สัปดาห์จะเรียกว่า ท้องเสียเรื้อรัง
อาการที่ต้องรับประทานยาฆ่าเชื้อ
การใช้ยาปฏิชีวนะหรือยาฆ่าเชื้อเพื่อรักษาผู้ป่วยที่มีอาการท้องเสีย มักจะพิจารณาให้การรักษาเฉพาะในผู้มีอาการท้องเสียที่ถ่ายเป็นมูกเลือด หรือผู้มีอาการถ่ายเหลวเป็นน้ำหรือน้ำซาวข้าวที่มีอาการแสดงของการขาดน้ำ เช่น อาการอ่อนเพลีย ไม่มีแรง กระหายน้ำ ปากคอแห้งหน้ามืด เป็นต้น
สำหรับผู้ที่มีอาการท้องเสียแบบถ่ายเหลวไม่มีเลือดปนและไม่มีอาการขาดน้ำ ไม่จำเป็นต้องรักษาด้วยยาปฏิชีวนะหรือยาฆ่าเชื้อ
ยาหยุดถ่าย
ยาหยุดถ่ายที่นิยมใช้ในปัจจุบันคือ loperamide แม้จะมีข้อบ่งใช้สำหรับบรรเทาอาการท้องเสียชนิดเฉียบพลันที่ไม่มีอาการแทรกซ้อน แต่อาจเป็นอันตรายต่อผู้ป่วยได้เนื่องจากทำให้การกำจัดออกของเชื้อโรคที่อาจเป็นสาเหตุของอาการท้องเสียช้าลง จึงไม่แนะนำให้ซื้อยาหยุดถ่ายมารับประทานเอง หากจำเป็นต้องรับประทาน ควรปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกร
Loperamide
กลไกการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ออกฤทธเิ์ป็น opiate agonist
ไม่มี narcotic-like actions
ลด gastrointestinal motility
อาการไม่พึงประสงค์
คลื่นไส้, ปวดท้อง, เวียนศีรษะ, ผื่นและปากแห้ง
ขนาดยาที่แนะนำ
เริ่มที่ 2 mg วันละ 1 ครั้ง (maximum dose 16 mg/day)
Oral Rehydration Salt (ORS) หรือ เกลือแร่สำหรับผู้ป่วยท้องเสีย
จัดเป็นผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์
ใช้สำหรับการชดเชยการสูญเสียน้ำจากการอาเจียน หรือท้องเสีย
ผลิตภัณฑ์มักอยู่ในรูปแบบผงบรรจุซอง เพื่อนำไปละลายน้ำแล้วดื่ม
Activated charcoal
กลไกการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ใช้ประโยชน์จากลักษณะที่เป็นผงๆ มีพื้นที่ผิวมากในการดูดซับสารพิษหรือยา
อาการไม่พึงประสงค์
อุจจาระสีดำ , ท้องร่วง , อาเจียน
ขนาดยาที่แนะนำ
500-1000 mg วันละ 3-4 ครั้ง
รับประทานห่างจากยาอื่นอย่างน้อย 2 ชั่วโมง
กลืนทั้งเม็ด หรือบดเม็ดยาผสมน้ำ
Dioctahedral smectite
กลไกการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ดูดซับสารพิษหรือยา
ทำปฏิกิริยากับ glycoprotein ที่เยื่อบุทางเดินอาหารและทำให้เกิดชั้น barrier
อาการไม่พึงประสงค์
ท้องผูก
ขนาดยาที่แนะนำ
3 ซอง/วัน แบ่งให้วันละ 2 - 3 ครั้ง
รับประทานห่างจากยาอื่นอย่างน้อย 2 ชั่วโมง
Rocecadotril
กลไกการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
เปลี่ยนเป็นสาร active metabolite คือ thiorphan ซี่งมีฤทธเิ์ป็น enkephalinase inhibitor
endogenous opioids (enkephalins)
อาการไม่พึงประสงค์
ง่วงซึม ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก
ขนาดยาที่แนะนำ
100 mg ทุก 8 ชั่วโมง PRN
Antiflatulants (ยาแก้ท้องอืดท้องเฟ้อ / ยาขับลม)
Flatulant (Flatulence)
หมายถึง อาการท้องอืดและการผายลม เกิดจากการสะสมของแก๊สในกระเพาะอาหาร โดยทั่วไปไม่ได้ท าให้เกิดอันตรายต่อร่างกาย แต่หากเกิดมากกว่า 20 ครั้งต่อวัน อาจเป็นสัญญาณถึงความผิดปกติ
Simethicone และยาที่มีส่วนประกอบของ simethicone
กลไกการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
Simethicone: in vitro to lower the surface tension of gas bubbles
Dicyclomine: weak antimuscarinic agent with direct antispasmodic action
อาการไม่พึงประสงค์
Simethicone: อาการท้องร่วง (อ่อน ๆ ), คลื่นไส้, สำรอก, อาเจียน
Dicyclomine: คลื่นไส้, ปากแห้ง, เวียนศีรษะ, ง่วงซึม, ตาพร่ามัว
ขนาดยาที่แนะนำ
Simethicone: 80-120 mg วันละ 3 ครั้ง (maximum dose 500 mg/day)
Dicyclomine: 20 mg วันละ 3-4 ครั้ง (maximum dose 160 mg/day)
Peppermint Oil
กลไกการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ยับยั้งการเข้าสู่เซลล์กล้ามเนื้อเรียบในระบบทางเดินอาหารของแคลเซียม (dihydropyridine calcium channel antagonists)
อาการไม่พึงประสงค์
เจ็บหน้าอกบ่อย ๆ
ขนาดยาที่แนะนำ
1 - 2 เม็ด วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร
ยาเตรียมสำหรับใช้ในโรงพยาบาล
(Mixture Carminative และยาธาตุน้ำแดง)
Mucosal resistance
Misoprostol
อาการไม่พึงประสงค์
อาการปวดท้อง,ท้องร่วง,มดลูกแตก
กลไกการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
Prostaglandin E1 analogue ออกฤทธิ์ยับยั้งการหลั่งกรดในทางเดินอาหาร (potent inhibitor)
Cytoprotective effect (mucosal protective agent)
ขนาดยาที่แนะนำ
200 mcg ORALLY 4 ครั้งต่อวัน
Sucralfate
กลไกการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
Sucralfate forms an adherent and protective protein complex (barrier) at the ulcer site
อาการไม่พึงประสงค์
ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง,ท้องผูก,bezoar
ขนาดยาที่แนะนำ
1 กรัม รับประทานวันละ 4 ครั้ง
Teprenone
กลไกการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ต้านการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร
เพิ่มสารเมือกของกระเพาะอาหาร
เพิ่มการไหลเวียนเลือดบริเวณเยื่อบุกระเพาะอาหาร
อาการไม่พึงประสงค์
AST, ALT สูงขึ้น
ขนาดยาที่แนะนำ
50 mg วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร
Rabamipide
กลไกการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ต้านการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร
เพิ่มสารเมือกของกระเพาะอาหาร
เพิ่มการไหลเวียนเลือดบริเวณเยื่อบุกระเพาะอาหาร
อาการไม่พึงประสงค์
AST, ALT สูงขึ้น
ขนาดยาที่แนะนำ
100 mg วันละ 3 ครั้ง
Antiemetic drugs (ยาแก้อาเจียน)
Ondansetron
กลไกการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
selective serotonin 5-hydroxytryptamine-3 (5-HT3)-receptor antagonist
blocking 5-HT3 receptors peripherally on vagal nerve terminals and centrally in the chemoreceptor trigger zone
ขนาดยาที่แนะนำ
Oral: 8 mg ทุก 8 ชั่วโมง
IV: 8 to 16 mg IV over 15 minutes given at least 30 minutes prior to chemotherapy
อาการไม่พึงประสงค์
ท้องผูก,ท้องร่วง,ปวดหัว,Prolonged QT interval, Torsades de pointes
Metoclopramide
ขนาดยาที่แนะนำ
10 mg orally 3 or 4 times daily before meals
กลไกการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
cholinomimetic and dopamine antagonist
อาการไม่พึงประสงค์
Neuroleptic malignant syndrome, Tardive dyskinesia, Somnolence
Domperidone
กลไกการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
dopamine receptor antagonism at the chemoreceptor trigger zone located in the area postrema, which is outside the blood brain barrier
ขนาดยาที่แนะนำ
10 mg orally 3 times daily before meals
อาการไม่พึงประสงค์
Prolonged QT interval, Sudden cardiac death, Ventricular arrhythmia
Aprepitant
กลไกการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
human substance P/neurokinin 1 (NK1) receptor antagonist
ขนาดยาที่แนะนำ
125 mg orally on day 1 and 80 mg on day 2 and 3
อาการไม่พึงประสงค์
Hypotension, abdominal pain, constipation,diarrhea, indigestion, ALT level raised
Antacids and Antisecretory agents
ได้แก่
Antacids
Histamine-2 Receptor Antagonists (H2RA)
Proton Pump Inhibitors (PPI)
Potassium-Competitive Acid Blockers (P-CAB)
Laxatives and cathartics
ได้แก่
Stimulant laxatives
Osmotic laxatives
Bulk forming laxatives
นางสาวกัณนิภา นักร้อง รหัสนักศึกษา 6301110801001 Sec 1