Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 16 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติในระบบทางเดินอาหาร ทางเดินน้ำดี…
บทที่ 16 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติในระบบทางเดินอาหาร ทางเดินน้ำดี ตับและตับอ่อน
(ต่อ :เรียนครั้งที่ 1)
-
กรดไหลย้อน
( Gastroesophageal reflux disease, GERD)
กรดไหลย อน (Gastroesophageal reflux disease, GERD) ผูปวยมักมีอาการแสบรอนบริเวณทรวงอกเปนความรูสึกแสบหรือรอนคลายไฟลน ที่บริเวณลิ นปหรือ บริเวณกลางทรวงอก (Heart burn, pyrosis) โดยเริ่ม จาก substernum แลวแผขยายขึ นไปบริเวณทรวงอก หรือถามีอาการมากความ รูสึกนี จะลามไปถึงคอ และอาจมีความรูสึกเหมือนขยอนกรดในกระเพาะอาหาร ขึ นมา ที่หลอดอาหาร บางครั งมีอาการเรอเปรี ยว (Wet burb) และ dyspepsia รูสึกอึดอัดแนนบริเวณทองหรือลิ นป หรือการเจียนหลังรับประทาน อาหาร
สาเหตุ
• เกิดจากความผิดปกติในสมรรถภาพของกลามเนื อหูรูดของหลอดอาหารสวน ปลายปดไมสนิท (Lower Esophageal Sphincter LES)
• ความผิดปกติของเสนประสาทและกลามเนื อบริเวณกระเพาะอาหาร
• ความผิดปกติของการบีบตัวของหลอดอาหาร
• ภาวะ Hiatal hernia
• สาเหตุทางพันธุกรรม เชน Down syndrome
ปัจจัยเสี่ยงตอการเกิด GERD
• รับประทานไมตรงเวลา รับประทานอาหารแลวนอน หรือนั่งเอนหลังรับประทานอาหาร
• การตั งครรภ โดยเฉพาะไตรมาสที่ 3 มดลูกจะโตเพิ่มความดันในชองทอง
• ความอวน
• ผูปวยที่ไอเรื อรัง เชน หอบหืด
• การใชยา NSAIDs
• การใสเสื อผาคับรัดโดยเฉพาะชวงหนาทอง
• การสูบบุหรี่
การรักษา
การรักษา
• การรักษาทางยา ในกลุม Proton pump inhibitor เชน omeprazone dexlansoprazole
• การรักษาดวยการผาตัด สวนใหญใชเมื่อไมตอบสนองต่อการรักษาทางยา วิธี
Nissen fundoplication เปนการเพิ่มความยาวของหลอดอาหาร ในชองทอง โดยดึงหลอดอาหารสวนปลายลงมาในชองทองและเลาะเอาบริเวณ fundusของ กระเพาะอาหารมาหุมหลอดอาหารไว
Appendicitis
การประเมินป ญหา
• การซักประวัติผูปวยจะมีอาการปวดทองมากอยางรุนแรงทันทีทันใด ระยะแรก ปวดมวนไมรุนแรง บอกต้าแหนงไมชัดเจน หรืออาจปวดมากรอบสะดือ/ใตลิ นป อาจปวดลักษณะนี คงอยูประมาณ 4-6 ชั่วโมง ตอมาจะบอกต้าแหนงไดชัดเจน คือ รวมกับอาการเบื่ออาหาร คลื่นไสอาเจียน ถาเปนผูหญิงควรซักประวัติ ระบบ อวัยวะสืบพันธรวมดวย เพื่อวินิจฉัยแยกโรคทางนรีเวช
• การตรวจรางกาย กดบริเวณ Mc. Burney, s point แลวปลอยมือจะเจ็บ (Rebound Tenderness) หนาทองเกร็งและเสียงล้าไสลดลงถาเคลื่อนไหวจะ ปวดมากขึ น มีไข หากคล้ากอนไดอาจเปนฝไสติ่ง (appendicle abscess)
การผ าตัด ภายในไมเกิน 1-2 ชั่วโมง ชนิดของการผาตัดมี 2 แบบคือ
• การผาตัดแบบเปดหนาทอง (open appendectomy)
• การผาตัดโดยการ สองกลอง (Laparoscopic appendectomy)
การพยาบาลหลังผ
1.หลังผ าตัด 24 ชั่วโมงแรก
- พยาบาลตองประเมินภาวะตกเลือดหลังผาตัดและอาการปวดแผลผาตัด
- วัดสัญญาณชีพ
- สังเกตลักษณะ ขนาดและสิ่งคัดหลั่งที่ออกจากแผลผาตัดของแผลผาตัด
- -ดูแลใหสารน ้าทางหลอดเลือดด้าตามแผนการรักษา
- ประเมินอาการปวดแผลผาตัด ดูแลใหรับยาแกปวดตามแผนการรักษา
- ระยะต อมา ระวังภาวะแทรกซอนหลังผาตัด ไดแก ภาวะทองอืดและการติดเชื อแผลผาตัด
- กระตุน early ambulation เมื่อรูสึกตัว
- ฟงเสียง bowel sound สอบถามอาการผายลมหรือเลอของผูปวย
- สังเกตอาการทองอืด/ ปวดทอง/ แนนทองหลังรับประทานอาหารทุกครั ง เมื่อผูปวยเริ่ม รับประทานอาหารได
- ดูแลความสะอาดแผลผาตัด
-
-
-
ไส เลื่อน (Hernia)
1.Ventral hernia/ Surgical hernia คือ ไสเลื่อนที่เกิด จากความออนแอของผนังชองทอง ที่เคยไดรับการผาตัด และพบ ไดพบบอยในผูปวยที่มีโรคอวน หรือเคยไดรับการผาตัดหลายครั ง ในต้าแหนงเดิม หรือ คนที่มีแผลบริเวณชองทองแตกระบวนการ หายของแผลไมส้าเร็จจากขาดอาหารและการติดเชื อที่แผล
2.Umbilical hernia ไสเลื่อนบริเวณสะดือ ท้าใหเปนสะดือจุน หรือไสเลื่อนที่สะดือ มักจะมีอาการ ตั งแตแรกเกิด เมื่อเด็กรองไห จะเห็นสะดือโปง มักจะไมมีภาวะแทรกซอนรายแรง และจะหายได เองกอนอายุ ได 2 ขวบ ถาไมหาย อาจตองท้าผาตัด เมื่ออายุได 3-6 ขวบ
3.Femoral hernia เปนผลมาจากความออนแอของผนังชองท องสวนลาง ล้าไสเลื่อนผาน femoral ring
- Indirect inguinal hernia (IIH) ไสเลื่อนชนิด นี เกิดจากขณะที่เปนตัวออน อัณฑะจะอยูในชองทองเมื่อ อายุครรภได 7 สัปดาห อัณฑะจะเคลื่อนที่ออกจากชองท องมาอยูในถุงอัณฑะ แตเด็กผูชายบางคนทางเดินและรูไม ปดท้าใหล้าไสเคลื่อนผาน inguinal canal สูอัณฑะที่ เราเรียกวาไสเลื่อนซึ่งมักจะพบในผูชาย
- Direct inguinal hernia (DIH)
ล้าไส เคลื่อนผาน inguinal canal มาอยูในต้าแหนงข องชองทองบริเวณพังผืดที่ออนแอที่สุดและไมเลื่อนกลับ โดยมีปจจัยสงเสริมคือมีความดันในชองทองเพิ่มมากขึ น เชน ตับแข็ง และมีน ้าในชองทอง หรือพวกถุงลมโปงพอง ไอมากๆ การตั งครรภคนอวน ทองผูก ตอมลูกหมากโต ท้าใหตองเบงเมื่อปสสาวะ
การพยาบาล
การพยาบาลหลังผ าตัด 24 ชั่วโมงแรก พยาบาลควรประเมินเรื่อง
• ภาวะตกเลือด
• อาการปวดแผลหลังผาตัด
• ภาวะแทรกซอนจากการผาตัดดวยการใชยาชาฉีดเขาไขสันหลัง (Spinal block) คือ ไมสามารถถายปสสาวะ ดวยตนเองหลังผาตัดและอาการปวดศีรษะ ดังนั น จึงตองสังเกตการขับถายปสสาวะดวยตนเองหลังผาตัด ภายใน 8 ชั่วโมง และดูแลใหนอนราบ 12 ชั่วโมงหลังผาตัด
ค้าแนะน้าการปฏิบัติตัวก อนกลับบาน คือ
- หามเบงหนาทอง ระวังไมใหทองผูก
- หามยกของหนักภายใน 6 สัปดาหหลังผาตัด
- ใสกางเกงใน supporter พยุงอัณฑะเวลาเดินเพื่อลดการกลับเปนซ ้า
- แผลหามถูกน้ า
- 7 วันหลังผาตัดตัดไหม หากพบสิ่งผิดปกติของแผล เชน แผลอักเสบ บวมแดง เป นหนอง แผลแยก มีไขใหมาโรงพยาบาลกอนวันนัด
-
CA colon & CA Rectum
อาการทางคลินิก
• ในระยะแรกมักไม่มีอาการ
• อาการที่พบบ่อยได้แก่ ถ่ายเป็นเลือดสด (hematochezia) หรือตรวจพบโลหิตจาง (anemia) เนื่องจากมีเลือดออกจากก้อนมะเร็ง
• อาการอื่นๆ ได้แก่ การขับถ่ายเปลี่ยนไป (change in bowel habit) โดยเฉพาะ อาการท้องผูก (constipation) อันเนื่องมาจากอุจจาระแข็งในล้าไส้ใหญ่ซีกซ้าย ไม่ สามารถเคลื่อนผ่านก้อนมะเร็งออกไปได้
• อุจจาระมีรูปร่างแคบกว่าปกติ
• ถ่ายอุจจาระไม่สุด
• ปวดท้องอย่างรุนแรง (abdominal cramping)
โดยเฉพาะท้องส่วนล่าง
• ความอยากอาหารลดลง
• น ้าหนักลด
• ล้าไส้อุดตันหรือ ทะลุ
-
-
-
-
-
-
: :
:
:
:
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
: