Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 16 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติในระบบทางเดินอาหาร ทางเดินน้ำดี…
บทที่ 16 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติในระบบทางเดินอาหาร ทางเดินน้ำดี ตับและตับอ่อน
(เรียนครั้งที่1)
-
-
-
Colonoscopy, Sigmoidoscopy (Lower G.I. endoscopy)
การพยาบาลหลังตรวจ
1) สังเกต อาการปวดทองแนนทอง เลือดออกทางทวารหนัก ไข ความดันโลหิต ลดลง ซีด ใจสั่น จาก Perforation ของล้าไส
2) ใหผูปวยรับประทานอาหารและดื่มน ้าได เพื่อปองกันการเปนลม
ข อหาม
1) ในผูปวยที่ถายเปนเลือดสดจ้านวนมาก
2) หามสวนอุจจาระหรือใหยาระบายในผูปวยที่เปน
Ulcerative colitis และหญิงมีครรภ
-
-
Barium enema
(BE, Lower G.I. series)
Barium enema (BE, Lower G.I. series) เปนการตรวจโดยการสวน แบเรียมทางทวารหนักไปยังล้าไสใหญแลวถายภาพรังสีเปนระยะ เพื่อวินิจฉัยความผิดปกติ ของล้าไสใหญ เชน colorectal cancer ใชเวลาตรวจประมาณ 45 นาที-1 ชั่วโมง
การพยาบาล
1) เตรียมล้าไสใหสะอาดกอนการตรวจใชหลักการเดียวกับ Colonoscopy
2) หลังการตรวจแนะน้าใหดื่มน ้ามาก ๆเพื่อทดแทนการสูญเสียน ้าจาการถายอุจจาระ
3) อธิบายใหผูปวยทราบถึงลักษณะอุจจาระหลังการตรวจจะมีสีซีดจางจากที่มีแบเรียม
ค างอยูถามีอาการทองผูกควรรายงานแพทยเพื่อผูปวยจะไดรับยาระบาย
4) ถามีอาการปวดบริเวณทวารหนักซึ่งเกิดจากการคาหัวสวนอยูนานๆ
อาจจ้าเป นตองใชยาชา เฉพาะที่
ข อหาม ผูปวยล้าไสอุดตัน ล้าไสอักเสบหรือล้าไสทะลุ
Ultrasonography
Ultrasonography เปนการตรวจโดยการสงคลื่นเสียงที่มีความถี่สูงไปยัง อวัยวะหรือเนื อเยื่อที่ตองการตรวจคลื่นเสียงจะ สะทอนกลับมาดวยความเร็วตางกัน ตามความหนาแนนของสิ่งที่ถูกกระทบ เปน Noninvasive Procedure ที่จะ แสดงโครงสรางของอวัยวะมากกวาหนาที่ ไมตองให Premedication ตรวจซ ้าได หลายครั งไมมีอันตราย
การพยาบาล
การเตรียมผู ปวย
1) งดน ้าและอาหารทางปากกอนตรวจ 8-12 ชั่วโมง
เพื่อลดก าซในระบบทางเดินอาหาร
1) ถาเพิ่งท้า Barium study ควรใหยาระบายกอน เพราะ Ultrasound ไม สามารถผาน barium ได้
-
-
-
Billoth 1 และ Billoth 2
การพยาบาลทั งก อนและหลังผาตัด
• ดูแลเชนเดียวกับการผาตัดใหญทั่วไป
ภายหลังการผ าตัดอาจพบปญหาการพยาบาล คือ
• ภาวะ shock
• อาการเจ็บปวด
• เสี่ยงตอการเกิดอันตรายเนื่องจากมีกระเพาะอาหารขยาย
• การอุดตันหรือการทะลุ
• มีการเปลี่ยนแปลงภาวะโภชนาการ เนื่องจากมีความสามารถในการดูดซึมสารอาหารลดลง
• ขาดความรูเกี่ยวกับการเปลี่ยนลักษณะนิสัยการรับประทานอาหาร
1) ปองกันภาวะแทรกซอนที่อาจเกิดขั นทั ง gastric dilation, obstruction และ perforation
• gastric dilation เกิดจากสิ่งคัดหลั่งตางๆ ที่มาคั่งคางในกระเพาะอาหาร ผูปวยจะรู สึกปวดบริเวณ epigastrium หัวใจเตนเร็ว ความดันโลหิตต่้าลง
• การอุดตัน (obstruction) สวนใหญเกิดจากการบวมของเนื อเยื่อ ซึ่งท้าใหเกิด อาการ ปวดทอง อาเจียน
• การทะลุ (perforation) สวนใหญเกิดจากการมีแรงดันที่รอยเย็บ ซึ่งโดยสวนใหญ แพทยจะใหการระมัดระวังสิ่งเหลานี โดยการใสสาย Nasogastric ภายหลังการผา ตัด ดังนั นพยาบาลควรดูแลใหมีการท้างานของเครื่องเพื่อระบายสิ่งคัดหลั่ง ซึ่งในชวงแรก อาจเปนสีแดงสดและตอมาอาจเปนสีของน ้าดี และจะเอาสายนี ออกไดเมื่อมีการเคลื่อนไหว ของล้าไส ดังนั นตองมีการประเมินการเคลื่อนไหวของล้าไส ซึ่งโดยสวนใหญจะเปนวันที่ 3 หรือ 4 หลังการผาตัด
3) แนะน้าถึงการปฏิบัติตนเกี่ยวกับการปฏิบัติตนเกี่ยวกับนิสัยในการรับประทาน อาหาร เนื่องจาก ภายหลังการผาตัดจะท้าใหกระเพาะอาหารเล็กลงหรือไมมี กระเพาะอาหารเลย อาหารเคลื่อนลงสูล้าไสเร็วขึ น ท้าใหเกิดกลุมอาการ dumping syndrome ซึ่งมักเกิดขึ นในการท้าผาตัด billoroth 2
• dumping syndrome มีอาการ ออนเพลีย มึนงง หนามืด หัวใจเตนเร็ว ความดันโลหิตลดลงและทองเสีย ซึ่งเกิดขึ นหลังรับประทานอาหารและมักเกิดขึ น ในระยะ 6 -12 เดือนหลังผาตัด แบงไดเปน 2 ระยะ
1.early dumping syndrome
2.late dumping syndrome
-
-
-
:
-
-
-
-
-
: :
:
: :
:
:
-
-
:
: :
-
-
-
-
-
: : :
-
-
-
-
-
-
-
-