Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บัญชียา/ยาที่มีความเสี่ยงสูง, นางสาวเมธาวลัย ชัยรักษา sec.1 รหัสนักศึกษา…
บัญชียา/ยาที่มีความเสี่ยงสูง
ยาที่มีความเสี่ยงสูง
กลุ่มที่มีโอกาสสูงที่จะเกิดอันตรายแก่ผู้ป่วย เพราะมีดัชนีการรักษาแคบ หรือมีผลข้างเคียงร้ายแรงต่ออวัยวะสำคัญ
หัวใจ
ไต
สมองหั
ชนิดหรือยารายการความเสี่ยงสูง จะมีความแตกต่างกันในแต่ละโรงพยาบาล
ตัวอย่างยาที่มีความเสี่ยงสูง
เช่น
Adrenergic agonist : adrenaline
Adrenaline (Epinephrine)
ขนาดยาที่มีในโรงพยาบาล
1 mg/ml และ 100 mcg/ml
สารน้ำที่ใช้ได้ D5W, NSS
ข้อบ่งชี้
รักษาอาการแพ้รุนแรง หลอดลมตีบ หัวใจหยุดเต้น
ควรให้ทางcentral line ถ้าไม่สามารถให้ได้แนะนำเส้นเลือดใหญ่ หลีกเลี่ยง ankle veins
หลีกเลี่ยงการฉีดเข้ากล้ามเนื้อบริเวณสะโพก เนื่องจากอาจจะทำให้หลอดเลือดตีบจนกล้ามเนื้อตาย
ไม่ควรใช้เมื่อยาตกตะกอน หรือเปลี่ยนเป็นสีชมพู หรือสีน้ำตาลอ่อน
การตรวจการติดตาม
บันทึก vital signs, BP ขณะให้ยา
ตรวจดู IV site ทุก 1 ชม. เพื่อระวังการเกิดยารั่วออกนอกหลอดเลือด ซึ่งจะทำให้เนื้อเยื่อตายได้
มีอาการ คือ ผิวหนังมีสีขาวซีด หรือมีสีเทา ผิวหนังเย็น
Neuromuscular blocking agents :
Atracurium ,cisatracurium
Calcium injection
การให้ยาแก่ผู้ป่วย
ควรแยกเส้นการให้ Ca++IV กับยาอื่นๆเพราะอาจเกิดการตกตะกอนเมื่อผสมกับยาอื่นๆได้ โดยเฉพาะ phosphate
ควรให้ยาทาง IV ไม่ควรให้ IM หรือ SC เพราะจะทำให้เกิด
necrosis ได
ห้าทผสมใน bicarbonate เพราะอาจเกิดการตกตะกอน
ตรวจการติดตาม BP, pulse
ตรวจดู IV site บ่อยๆทุก 30 นาที เพราะถ้ามียารั่วซึมออกมา จะทำให้เกิดเนื้อเยื่อตายได้
Magnesium injection
ระวังการใช้ในผู้ป่วย renal impairment เพราะมีความเสี่ยงสูงที่จะเกิด magnesium toxicity
ระวังในการใช้ในผู้ป่วย neuromuscular disease
การให้ยาแก่ผู้ป่วย
ก่อนฉีด IV ต้อง Dilute ก่อนเสมอ ควรให้ความเข้มข้นไม่เกิน 20%
การฉีด IM ในผู้ใหญ่อาจให้ได้ถึง 50% แต่ในเด็กควรให้ต่ำกว่า 20%
อาการไม่พึงประสงค์
hypotension (IV; rate related)
vasodilation (IV; rate related)
Flushing (IV; dose related)
Potassium Injection
รูปแบบยา
KCl inj. [Potassium chloride] 20
mEq/10 mL (K+ 2 mEq/mL)
K2HPO4Inj. [Dipotassium phosphate] 20 mL (K + 1 mEq/mL)
การเขียนสั่งยา
ห้ามให้ IV push หรือ IV bolus ต้องเจือจางกับสารน้ำ (D5W, NSS) ก่อนให้ผู้ป่วยเสมอ โดยความเข้มข้นที่แนะนำในผู้ใหญ่
การให้ยาแก่ผู้ป่วย
ระมัดระวังการเกิดยารั่วออกนอกเส้นเลือด เพราะอาจทำให้เกิดเนื้อเยื่อตายได้ โดยเฉพาะทีใช้ความเข้มข้นสูง มากกว่า 0.1 mEq/mL หรือ infuse ผ่าน peripheral line
เกณฑ์การแบ่งระดับสถานบริการในสังกัดสำนักงานปลักกระทรวงสาธารณสุข ตามระบบภูมิศาสตร์สารสนเทศ
หน่วยบริการระดับทุติยภูมิ
(Secondary Care)
โรงพยาบาลทั่วไป
หน่วยบริการระดับปฐมภูมิ(Primary care)
โรงพยาบาลชุมชน
หน่วยบริการระดับตติยภูมิ (Tertiary Care)
โรงพยาบาลศูนย์ , โรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์
ผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบเรื่องยาที่มีความเสี่ยงสูง
ฝ่ายเภสัชกรรม
เป็นผู้รับผิดชอบการบริหารจัดการในส่วนของการจัดซื้อ การเก็บรักษาในคลังยาและห้องจ่ายยา การระบุฉลาก การจ่ายยา การจัดส่งและการให้ข้อมูลยาที่มีความเสี่ยงสูง
ฝ่ายการพยาบาล
เป็นผู้รับผิดชอบการเก็บรักษายาที่มีความเสี่ยงสูงในหอผู้ป่วย การให้ยาและการเฝ้าระวังผลการใช้ต่อผู้ป่วยและรายงานแพทย์เจ้าของใช้
แพทย์และบุคลากรของภาควิชาต่างๆ
เป็นผู้รับผิดชอบการสั่งใช้ตลอดจนการบริหารยาและผลเฝ้าระวังการใช้ยาต่อผู้ป่วย ในกรณีนี้ที่เป็นผู้บริหารยา และการติดตามผลของการใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูงที่มีใช้ในภาควิชาของตน
ทีมนำทางคลินิก
เป็นผู้รับผิดชอบติดตามประเมินผลของการใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูงในผู้ป่วยของตน
คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัดโรงพยาบาลศิริราช
เป็นผู้รับผิดชอบในการพิจารณาและกำหนดหลักเกณฑ์การใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูงในโรงพยาบาลเพื่อให้เกิดการใช้ยาอย่างปลอดภัย
การบริหารยา
การเตรียมยาให้ปฏิบัติตามที่ระบุในคู่มือยาแต่ละชนิด
พยาบาลอีกคนหนึ่งเป็นผู้ตรวจสอบซ้ำก่อนให้ยาแก่ผู้ป่วย
เมื่อต้องให้ยาแก่ผู้ป่วย แพทย์หรือพยาบาลผู้ให้ยาต้องตรวจสอบชื่อนามสกุลผู้ป่วย ชื่อยา ขนาดยาให้ถูกต้องซ้ำก่อนให้ยาแก่ผู้ป่วย
บัญชียาหลักแห่งชาติ
บัญชียาสำหรับโรงพยาบาล และสถานบริการสาธารณสุข
ประกอบด้วย
บัญชี ค
รายการยาที่ต้องใช้ในโรคเฉพาะทาง โดยผู้ชำนาญ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากผู้อำนวยการของโรงพยาบาลนั้นๆ
มีมาตรการกำกับการใช้ยา
มีความพร้อม(วินิจฉัยจนถึงการติดตามผลการรักษา) เนื่องจาก ถ้าใช้ยาไม่ถูกต้องจะเกิดพิษต่อผู้ป่วยซึ่งอาจจะเป็นสาเหตุทำให้เชื้อดื้อยา และเป็นยามีแนวโน้มการใช้ไม่ตรงตามข้อบ่งชี้
บัญชี ง
รายการยาที่มีหลายข้อบ่งชี้ แต่มีความเหมาะสมเพียงบางข้อบ่งใช้ หรือมีแนวโน้มการสั่งยาที่ไม่ถูกต้อง เป็นยาที่มีราคาแพง จำเป็นสำหรับผุ้ป่วยบางราย โดยจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไข
ใช้ยาตามข้อบ่งใช้ และเงื่อนไขที่กำหนด
วินิจฉัยและสั่งยา โดยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะโรคที่ได้รับการฝึกอบรม ได้รับวุฒิบัตรหรืออนุมัติบัตรจากแพทย์สภา หรือทันตแพทย์สภาเท่านั้น
บัญชี ข
รายการยาที่ใช้สำหรับข้อบ่งใช้ หรือโรคบางชนิดที่ใช้ยาบัญชี ก ไม่ได้ หรือไม่มีผล หรือใช้เป็นยาแทนยาในบัญชี ก ตามความจำเป็น
บัญชี จ
(จ1) รายการยาสำหรับโครงการพิเศษ
(จ2) รายการยาสำหรับผู้ป่วยที่มีความจำเป็นเฉพาะ มีการจัดกลไกกลางเป็นพิเศษในกำกับการใช้ยา
บัญชี ก
รายการยามาตรฐานที่ใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพที่พบบ่อย ควรได้รับการเลือกใช้เป็นอันดับแรกตามข้อบ่งใช้ของยานั้น
การจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
การจ่ายยา HAD ต้อง double check เสมอ
การจ่ายยา HAD ที่มีเครื่องหมาย
*
ที่ชื่อยา ต้องติดสติ๊กเกอร์วงกลมสีชมพู ฉลากช่วย เอกสารแนะนำผู้ป่วยประกอบการส่งมอบยาทุกครั้ง
เมื่อได้รับใบสั่งยา เภสัชต้องตรวจสอบซ้ำ ชื่อ- สกุลผู้ป่วย ชื่อยา ขนาดยา อันตรกิริยาระหว่างยา ข้อห้ามในการใช้ยา
การเก็บรักษายาที่มีความเสี่ยงสูง
ต้องมีสัญลักษณ์สีชมพูสด เตือนว่าเป็นยาที่มีความเสี่ยงสูง
กลุ่มยาเสพติด ต้องจำกัดการเข้าถึง ต้องใส่ในตู้หรือลิ้นชักที่ look เสมอ มีผู้ควบคุม ตรวจสอบจำนวนยาอย่างสม่ำเสมอ
ได้แก่
morphine
pethidine
fentanyl
HAD ทุกชนิดต้องเก็บรักษาโดยการแยกจากยาอื่นๆ หรือป้องกันการเข้าถึงได้โดยง่าย
นางสาวเมธาวลัย ชัยรักษา sec.1 รหัสนักศึกษา 6301110801035