Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
จิตวิทยาการศึกษา และ จิตวิทยาการเรียนรู้ - Coggle Diagram
จิตวิทยาการศึกษา
และ
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการศึกษา
แนวคิดของนักจิตวิทยา
กลุ่มจิตวิเคราะห์
ซิกมันด์ ฟอยด์
พฤติกรรมเกิดจากพลังงานด้านจิตทำหน้าที่ควบคุมพฤติกรรม
จิตกึ่งสำนึก
จิตไร้สำนึก
Ego
Superego
Id
จิตสำนึก
อีริคสัน
พัฒนาการทางบุคลิกภาพขึ้นอยู่กับการปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนกับสภาพสังคม
กลุ่มพฤติกรรมนิยม
จอห์น บี วัตสัน นำแนวคิดมาจากพาฟลอฟ
การเรียนรู้โดยมีเงื่อนไข พฤติกรรมต้องมีสาเหตุมา กระตุ้น โดย สิ่งเร้า ส่งผลต่อ การตอบสนอง
กลุ่มหน้าที่ทางจิต
วิลเลี่ยม เจมส์
จอห์น ดิวอี้
จิตมีหน้าที่ควบคุมกระบวนการทุกอย่างในร่างกาย เพื่อให้ปรับเข้ากับสิ่งแวดล้อม
กลุ่มสติปัญญา
ทฤษฎีของโคเลอร์
การเรียนรู้เกิดจากการหยั่งเห็น โดยต้องอาศัยประสบการณ์
ทฤษฎีของวีลเลอร์
ควรปรับการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับผู้เรียนแต่ละคน และควรยกเลิกการเรียนรู้แบบลองผิดลองถูก
ทฤษฎีสนามของเลอวิน
สิ่งที่สนใจเป็นพลังบวก
ทฤษฎีของทอลแมน
เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เลือกวิธี
การเรียนด้วยตนเอง
เกสตัลท์
การเรียนรู้เป็นกระบวนการคิด
กลุ่มโครงสร้างทางจิต
วิลเฮล์ม แม็กซ์ วุ้นต์
การสัมผัสเป็นสิ่งที่จำเป็นแห่งการเรียนรู้ ได้แก่ การสัมผัส การรู้สึกและมโนภาพหรือจินตนาการ
กลุ่มมนุษยนิยม
โรเจอร์ และ มาสโลว์
มนุษย์ทุกคนพยายามพัฒนาตนเองให้เป็นผู้ที่มีความสมบูรณ์ที่สุด โดยมี ทฤษฎีความต้องการ
ความหมาย
จิตวิทยา คือ การศึกษาพฤติกรรม
ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
พฤติกรรม
ภายนอก
โมลาร์ มองเห็นได้
โมเลคิวลาร์ ต้องใช้เครื่องมือ
ภายใน
ไม่สามารถมองเห็นและวัดได้
จุดมุ่งหมาย
เน้นในเรื่องของการเรียนรู้ และการนำไปประยุกต์ในการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ
ประโยชน์
ด้านสังคม ช่วยให้ครู นักเรียน เข้าใจตนและผู้อื่น ปรับปรุงพฤติกรรมตนเอง
ทำให้ครูเข้าใจเด็กมากขึ้น อบรมแนะนำ ควบคุมดูแลในเด็กอยู่ในระเบียบ เสริมสร้างบุคลิกภาพ ปรับตัวได้อย่างเหมาะสม
ด้านการเรียนการสอน ช่วยให้ครูเข้าใจเด็ก สามารถจัดการสอนให้สอดคล้องกับความ ต้องการ สนใจความถนัดเชาวน์ปัญญาของเด็ก
ประกอบด้วย
จิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาการแนะแนว
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
องค์ประกอบการเรียนรู้
แรงขับ
พฤติกรรมที่จะชักนำไปสู่การเรียนรู้
การตอบสนอง
การเรียนรู้ สามารถพิจารณาจากการกระทำ หรือตอบสนอง ดังนั้น สามารถวัดการเรียนรู้ได้จากตัวแปลนี้
สิ่งเร้า
รับสัมผัสเข้ามาทางประสาทสัมผัสทั้ง 5
การเสริมแรง
สิ่งที่มีอิทธิพลต่อบุคคลอันมีผลในการเพิ่มพลังให้เกิด การเชื่อมโยง ระหว่างสิ่งเร้ากบัการตอบสนองเพิ่มขึ้น
ความหมาย
การเรียนรู้ คือ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจากประสบการณ์ในอดีต ทั้งจากการฝึกฝน และมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมรอบตัว และ มีปริมาณของความรู้เพิ่มขึ้น
ทฤษฎีของจิตวิทยาการเรียนรู้
กลุ่มสัมพันธ์ต่อเนื่อง
การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของวัตสัน
การวางเงื่อนไขโดยการใช้สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข และสิ่งเร้าที่ไม่วางเงื่อนไข ทำให้เกิดการตอบสนอง และเมื่อทำให้เกิด
พฤติกรรมใดๆได้ก็สามารถลดพฤติกรรมนั้นให้หายได้
ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่องโยงของธอร์นไดค์
การลองผิดลองถูก มีกฎการเรียนรู้ 4 ข้อ
กฎแห่งการฝึกหัดหรือการกระทำซ้ำ
กฎแห่งผลที่พึงพอใจ
กฎแห่งความพร้อม
กฎแห่งการใช้
การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของพาฟลอฟ
การเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าตามธรรมชาติ และสิ่งเร้าหวังเงื่อนไขกับการตอบสนอง
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขการกระทำของสกินเนอร์
การเรียนรู้เกิดจากการเสริมแรง โดย อัตราการเกิดพฤติกรรมหรือการตอบสนองขึ้นอยู่กับผลของการกระทำ
กลุ่มความเข้าใจ
ทฤษฎีของเกสตัลท์
การเรียนรู้เกิดจากการรับรู้ส่วนรวมมากกว่าส่วนย่อยโดยประสบการณ์เรียนรู้เกิดจากการรับรู้ และการหยั่งเห็น
ทฤษฎีสนามของเลวิน
การเรียนรู้เกิดจากการรับรู้และกระบวนการคิดแก้ไขปัญหาแต่นำหลักวิทยาศาสตร์มาอธิบายพฤติกรรมของมนุษย์ คือ พฤติกรรมมนุษย์มีแรงจูงใจหรือพลังและทิศทางของเป้าหมาย
จุดมุ่งหมาย
ด้านเจตพิสัย
ผลของการเรียนรู้ที่เปลี่ยนแปลงด้านควรรู้สึก รวมถึงความสนใจ ทัศนคติการประเมินค่าและค่านิยม
ด้านทักษะพิสัย
ผลของการเรียนรู้ที่เป็นความสามารถด้านปฏิบัติ รวมถึงการเคลื่อนไหว การกระทำ การปฏิบัติงาน การมีทักษะและความชำนาญ
ด้านพุทธิพิสัย
ผลของการเรียนรู้ที่เป็นความสามารถทางสมอง ครอบคลุม
พฤติกรรมประเภท ความจำความเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์และประเมินผล