Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.4 บุคคลที่มีกลุ่มโรคอาการทางกาย - Coggle Diagram
5.4 บุคคลที่มีกลุ่มโรคอาการทางกาย
โรค somatization disorder
ร่างกายมีอาการผิดปกติหลายอย่างและมีความรุนแรงมากเกินจริงก่อนอายุ 30 ปี
อาการผิดปกติที่เกิดขึ้นจะเกิดขึ้นซ้ำ ๆ เรื้อรังนานหลายปี
1) มีอาการปวด (pain) อย่างน้อย 4 ตำแหน่งพร้อมกัน เช่น ปวดศีรษะ ปวดท้อง ปวดหลัง ปวดข้อ
2) มีอาการของระบบทางเดินอาหาร อย่างน้อย 2 อาการ เช่น
คลื่นไส้ แน่นท้อง อาเจียน ท้องเดิน
3) อาการทางเพศ อย่างน้อย 1 อาการ เช่น เฉื่อยชาทางเพศ ประจำเดือนมาไม่สม่ำเสมอ อวัยวะเพศไม่แข็งตัว
4) อาการที่คล้ายโรคทางระบบประสาท อย่างน้อย 1 เช่น การ
ทรงตัว แขนขาไม่มีแรงหรือเป็นอัมพาต กลืนอาหารลำบาก
โรค Hypochondriasis
มีความกลัวหรือกังวลอย่างน้อย 6 เดือนว่าตนเองจะป่วยเป็นโรคร้ายโรคใดโรคหนึ่ง โดยที่ตนเองไม่มีการเจ็บป่วยนั้นจริง
มักไปโรงพยาบาลเพื่อพบแพทย์บ่อยๆ แต่ผู้ป่วยก็คิดว่าไม่ได้ช่วยให้อาการของตนดีขึ้น
ไม่พอใจการรักษา และต้องการเปลี่ยน
ผู้รักษาไปหาคนใหม่ (doctor shopping)
สาเหตุของกลุ่มโรคอาการทางกาย
somatization disorder
1) ปัจจัยด้านชีวภาพ
ผู้ป่วยมีความผิดปกติของระดับการใส่ใจ (attention) การรู้คิดและเข้าใจ(cognition) ทำให้ผู้ป่วยมีการรับรู้ (perception)
การทำงานที่น้อยกว่าปกติของสมองส่วนหน้า (frontal lope) และสมองซีกไม่เด่น (non –dominant hemisphere)
พันธุกรรม
2) ปัจจัยทางจิตสังคม
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์
ทฤษฎีการเรียนรู้
hypochondriasis
ถูกกระตุ้นได้ด้วยความเครียดหรือปัญหาชีวิต
มีประวัติถูกกระทำทารุณในวัยเด็ก
มีประวัติเจ็บป่วยร้ายแรงในวัยเด็กหรือเรียนรู้ที่จะใช้บทบาทการเป็นผู้ป่วยในการแก้ปัญหาชีวิต
มีแปลความรู้สึกของร่างกายผิดปกติ
การบำบัดรักษาของกลุ่มโรคอาการทางกาย
somatization disorder
บำบัดตามปัญหาของผู้ป่วยเป็นรายๆไป
ส่วนใหญ่แพทย์ที่ทำการบำบัดรักษา
มักจะเป็นแพทย์ประจำเพียงคนเดียว
hypochondriasis
บำบัดด้วยยาไม่ค่อยได้ผล ผู้ป่วยอาจจะได้รับยาแก้ต้านเศร้าที่อาจช่วยให้อาการดีขึ้นบ้าง หรือหากผู้ป่วยมีโรคทางจิตเวชอื่นร่วมด้วย
การพยาบาลบุคคลที่มีกลุ่มโรคอาการทางกาย
1) การประเมินสภาพ (assessment)
ด้านร่างกาย
ตรวจร่างกายทั่วไปอย่างถี่ถ้วน เพื่อความ
ชัดเจนว่าผู้ป่วยไม่มีการเจ็บป่วยทางร่างกายจริง
ด้านจิตใจ
มุ่งเน้นทางด้านอารมณ์และความคิดเป็นสำคัญ
ด้านสังคม
ประเมินแรงกดดันที่ส่งเสริมให้ผู้ป่วยเกิดอาการต่าง ๆมากขึ้น
2) การวินิจฉัยทางการพยาบาล
ไม่สนใจที่จะแก้ปัญหาทางจิตใจเพราะปฏิเสธปัญหาทางจิตใจ
มีความบกพร่องในการดูแลตนเองด้านสุขภาพอนามัย
มีอาการเจ็บป่วยทางร่างกายหลายอย่าง
ต้องพึ่งพายาลดอาการปวด
มีอารมณ์ซึมเศร้าหรือพยายามทำร้ายตนเอง
มีความบกพร่องในวิธีเผชิญปัญหาหรือความไม่สบายใจ
ไม่สามารถทำหน้าที่ได้ตามบทบาทหรือแยกตัวจากสังคม
3) การวางแผนและการปฏิบัติทางการพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
ให้เวลาผู้ป่วยได้พูดระบายความในใจได้อย่างอิสระ
ตั้งใจรับฟัง ใส่ใจกับคำพูด
พยาบาลควรหลีกเลี่ยงการให้แรงเสริมต่อพฤติกรรมที่เป็นพยาธิสภาพของผู้ป่วยอาการ
ส่งเสริมความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติผู้ดูแลเกี่ยวกับ
ปัญหาทางสุขภาพของผู้ป่วย
ดูแลให้จัดสภาพแวดล้อมที่เน้นความปลอดภัย
เนื่องจากผู้ป่วยกลุ่มโรคอาการทางกาย
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยได้รับการบำบัดทางจิตสังคม
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาตามแผนการรักษา
4) การประเมินผลทางการพยาบาล
(evaluation)
ประเมินตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ซึ่งผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น สามารถประเมินได้จากการบอกกล่าวของผู้ป่วยเอง
ครอบครัวผู้ป่วยหรือจากการสังเกตของพยาบาล