Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.1 โรคความผิดปกติของการรับประทานอาหาร - Coggle Diagram
5.1 โรคความผิดปกติของการรับประทานอาหาร
ความหมาย ลักษณะอาการ
Anorexia nervosa
บุคคลปฏิเสธการมีน้ำหนักตัวปกติ มีความกลัวอย่างรุนแรงเกี่ยวกับการเพิ่มขึ้นของน้ำหนัก กลัวอ้วนมากๆ ทั้งที่มีน้ำหนักตัวน้อย และไม่คำนึงถึงผลกระทบของร่างกาย
แบบที่1 แบบจำกัด (restricting type)
ผู้ป่วยไม่มีพฤติกรรมแบบรับประทานมากและไม่มีการ
ขับอาหารออกจากร่างกาย
แบบที่2 แบบรับประทานมากและมีการขับอาหารออกจากร่างกาย (binge eating / purgingtype)
ผู้ป่วยมีพฤติกรรมรับประทานมากและ
มีการขับอาหารออกจากร่างกาย
ปฏิเสธการรับประทานอาหาร
ให้คุณค่ากับตนเองในการประสบความสำเร็จ
ในการลดน้ำหนักตัวและรูปร่าง
มีความคิดเห็นกี่ยวกับผู้อื่นผิดปกติไปเพราะมักคิดว่า
ตนเองปกติแต่ผู้อื่นผิดปกติ
การขาดประจำเดือนร่วมด้วย ส่วนใหญ่จะแสดงอาการ
ในช่วงวัยรุ่นตอนต้น
Bulimia nervosa
เห็นอาหารแล้วเกิดความอยากบริโภคและบริโภคได้ในปริมาณมากกว่าปกติโดยไม่สามารถควบคุมตนเองได้ เมื่อบริโภคเสร็จแล้วจะรู้สึกผิดไม่สบายใจ
และพยายามเอาอาหารที่บริโภคเข้าไปออกด้วยวิธีการต่างๆ
รับประทานอย่างมากป็นระยะๆ
ลักษณะที่1 มีช่วงของการรับประทานที่รับประทานอาหารในช่วงเวลาสั้นๆ ครั้งละมากๆ ใช้เวลาน้อยกว่า 2 ชั่วโมง
ไม่สามารถที่จะควบคุมการรับประทานได้ในระหว่างนั้น
แสดงออกทางพฤติกรรมชดเชยในลักษณะ
ที่ไม่เหมาะสมอยู่เป็นระยะๆ
เกิดขึ้นเฉลี่ยอย่างน้อย
สัปดาห์ละ 2 ครั้งเป็นระยะเวลานานติดต่อกัน 3 เดือน
มีการประเมินตนเองเกี่ยวกับเรื่องของน้ำหนักตัวหรือรูปร่างอย่างมาก
สาเหตุ
1) ปัจจัยด้านชีวภาพ
พันธุกรรม
ด้านสารสื่อประสาทในสมอง (serotonin)
2) ปัจจัยทางด้านจิตใจ
พัฒนาการของจิตใจ
บุคลิกภาพ
ลักษณะการเลี้ยงดู
3) ปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม
สัมพันธภาพในครอบครัว
สังคมเมืองที่มีความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและอุตสหกรรม
การบำบัดรักษา
1) การบำบัดรักษาทางกาย
ดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางร่างกายตามอาการ
ที่เกิดขึ้น
2) การบำบัดรักษาด้วยยา
selective serotonin reuptake inhibitor (SSR)
fluoxetine
tricyclic antidepressant (ICAs)
amitriptyline
imipramine
ยาต้านโรคจิตกลุ่มใหม่
olanzapine
risperidone
ยากระตุ้นความอยากอาหาร
megestro lacetate
3) จิตบำบัดรายบุคคล
(individual psychotherapy)
4) การบำบัดความคิด (cognitive therapy)
5) พฤติกรรมบำบัด(behavioral therapy)
6) ครอบครัวบำบัด(family therapy)
7) กลุ่มบำบัด (group therapy)
8) โภชนาการบำบัด (nutrition therapy)
9) อาชีวบำบัต (occupational therapy)
การพยาบาล
1) การประเมินสภาพ (assessment)
การซักประวัติ
เพื่อประเมินเกี่ยวกับประวัติการเจ็บป่วยทั้งด้านความคิดและพฤติกรรม
การประเมินจากการตรวจร่างกาย เป็นการประเมินลักษณะทางกายภาพ และการทำหน้าที่ต่าง ๆ ของร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
2) การวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีภาวะขาตสารอาหารเนื่องจากปฏิเสธการรับประทานอาหารหรือความอยากอาหารลดลง
เกิดภาวะไม่สมดุลของอิเล็กโตรไลท์ในร่างกายเนื่องจากมีพฤติกรรมล้วงคออาเจียน
เสี่ยงต่อการบาดเจ็บในช่องปากเนื่องจากมีพฤติกรรมล้วงคออาเจียน
เสี่ยงต่อการผลัตตกหกล้มเนื่องจากกล้ามเนื้ออ่อนแรง
มีวิธีการจัดการกับปัญหาที่ไม่เหมาะสมเนื่องจากขาดความรู้
มีความวิตกกังวลเนื่องจากการรับรู้เกี่ยวกับภาพลักษณ์ที่บิดเบือน
ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองลดลงเนื่องจากการรับรู้เกี่ยวกับภาพลักษณ์ที่บิดเบือน
3) การวางแผนและการปฏิบัติทางการพยาบาล
การดูแลให้ได้รับสารอาหารและน้ำที่เพียงพอ
การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
การรักษาด้วยยา
การให้คำปรึกษา
4) การประเมินผล (evaluation)
นำข้อมูลที่ไต้จากการประเมินผลไปใช้ในการปรับแผนการพยาบาลให้เหมาะสมกับผู้รับบริการในแต่ละราย นำไปสู่เป้าหมายที่ได้วางแผนไว้