Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
(ทฤษฏีพัฒนาการทางปัญญา ของ Jean Paul Piaget), (ทฤษฎีพัฒนาการจิตสังคม Erik…
(ทฤษฏีพัฒนาการทางปัญญา ของ Jean Paul Piaget)
เชาวน์ปัญญา(Intelligence)คือ ความสามารถในการคิดเชิงนามธรรมการแก้ปัญหาและการจำ
ปัญญา(cognition) คือการจัดการข้อมูลที่ได้รับมา
สิ่งแวดล้อมคือ สิ่งที่อยู่รอบๆตัวเรา รับรู้ได้โดยประสาทสัมผัสทั้ง 5
แนวคิดพื้นฐาน
มีอธิพลมาจาก
สิ่งแวดล้อม
กับ
วุฒิภาวะ
โครงสร้างทางปัญญา(Schema) :recycle:
การซึมซาบความรู้ใหม่ Assimilation - การรับรู้ข้อมูลใหม่จากสิ่งแวดล้อม เข้าไว้
ปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางปัญญา Accommodation
-ปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่เชื่อมโยงกับโครงสร้างเดิม
ภาวะของจิต
Eguilibrium สมดุล
Disequilibrium ไม่สมดุล
4 ขั้นของ Jean Paul Piaget คือ SPCF
ขั้นที่1 ประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหว(Sensorimotor stage) แรกเกิดจนถึงอายุประมาณ 2 ขวบ
ขั้นที่2 ก่อนปฏิบัติการคิด (Preoperational stage)
ขั้นที่3 ขั้นปฎิบัติการคิดด้วยรูปธรรม(Conerele operational stage) อายุประมาณ 7 ปี ถึง 11 หรือ 12 ปี
ขั้นที่4ปฎิบัติคิดด้วยนามธรรม(Formal operational stage) อายุประมาณ 11 หรือ 12 ปีขึ้นไป คิดเป็นมีเหตุผล
(ทฤษฎีพัฒนาการจิตสังคม
Erik Homburger Erikson)
Erikson เป็นลูกศิษย์ของ Sigmund Freud
แนวคิดพื้นฐาน มนุษย์มีความสร้างสรรค์ และปรับตัวเพื่อพัฒนาตนเองให้ดียิ่งขึ้น
สาเหตุของพฤติกรรม-Id-Super Ego-Ego -มนุษย์เราพัฒนาได้ตลอดตามช่วงวัย -สิ่งแวดล้อมทางสังคมวัฒนธรรมส่งผลต่อ บุคลิกภาพ
-พัฒนาการของคนไม่ได้จบแค่วัยรุ่น
แรกเกิด
ขั้นที่1 Trust VS Mistrust ระยะทารก(Intancy period) 0-1ปีไว้วางใจและไม่ไว้วางใจผู้อื่น
ขั้นที่2 Autonomy VS shame and doubt วัยเริ่มต้น(Toddler period) อายุ 1-3 ปี มีความเป็นอิสระเป็นตัวของตัวเองกับความละอายและสงสัย
ขั้นที่3Initiativa VS Guilt ระยะก่อนไปโรงเรียน(Preschool period) อายุ3-6ปีความคิดริเริ่มกับความรู้สึกผิด =ธรรมชาติของเขาคืออยากรู้อยากเห็น
ขั้นที่4Industry VS Inferiority ระยะเข้าโรงเรียน(School period)อายุ 6-12 ปี เอาการเอางานกับความมีปมด้อย =เป็นวัยที่ต้องการความเอาใจใส่
ขั้นที่5 Identity VS Role confusion ระยะวัยรุ่น(Adolescent period) 12-19 ปี การมีเอกลักษณ์ของตนเองกับความสับสนในบทบาทของตนเอง =ให้ความต้องการกับกลุ่มเพื่อนคบเพื่อนต่างเพศ
=มีความสับสนในภาพลักษณ์หรือมีภาพลักษณ์ที่ไม่เหมาะสม
สรุปเด็กวัยรุ่น
-มีความคิดที่ใกล้เคียงผู้ใหญ่แล้ว สามารถคิดเชิงนามธรรมได้ –ยังขาดประสบการณ์ –ความเข้าใจเป็นสิ่งสำคัญ
ขั้นที่6 Intimacy VS Isolation ระยะต้นของวัยรุ่นผู้ใหญ่ (Early adult period)อายุ 20-40ปี ความผูกพันธ์ใกล้ชิดกบการแยกตัว =เริ่มมีจุดมุ่งหมายในชีวิตของตนเอง พร้อมมีเพื่อนสนิท และชีวิตคู่ =ไม่รู้จักว่าตัวเองถนัดอะไรชอบอะไร
ขั้นที่7Generativity VS stagnation ระยะผู้ใหญ่(Aduit period)อายุ 40-65ปี การอนุเคราะห์เกื้อกูลกับการหยุดนิ่งหมกมุ่นกับตนเอง
ขั้นที่8Integrity VS Despair ระยะวัยสูงอายุ(Aging perion)อายุประมาณ 60-65ปีขึ้นไปความมั่นคงสมบูรณ์ทางจิตใจกับความสิ้นหวัง =ใช้ชีวิตอย่างคุ้มค่าแล้ว ประสบความสำเร็จ พอใจในชีวิตมีความสุข =ความสิ้นหวัง กลัวตายรู้สึกว่าตนใช้ชีวิตไม่คุ้มค่าคิดว่าตนเองไม่มีประโยชน์ไม่มีคุณค่า
เสียชีวิต
(ทฤษฏีพัฒนาการทางจริยธรรม
Lawrence Kohlberg)
จริยธรรม คือ ความรู้สึกผิดชอบชั่วดีความละอายต่อความชั่วการตัดสินความถูกผิด
แนวคิดพื้นฐาน
-การบรรลุวุฒิภาวะเชิงจริยธรรมของบุคคล
-จะแสดงออกในทางการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรมได้เด่นชัดที่สุด
-การอภิปราย หาเหตุผล ร่วมกับบุคคลอื่นในสังคม
-พัฒนาการจริยธรรมมีความเกี่ยวข้องกับการมีปฎิสัมพันธ์ทางสังคม
จริยธรรมแบ่งออกเป็น 3 ระดับ(Levels)แต่ละระดับแบ่งออกเป็น 6 ขั้น(Stages)
ระดับที่1 ก่อนกฎเกณฑ์สังคม/ก่อนมีจริยธรรม PRECONVENTIONAL LEVEL
ขั้นที่1 การลงโทษและเชื่อฟัง(อายุ2-7ปี) –พฤติกรรม ดี/ถูก คือ พฤติกรรมที่ทำแล้วได้รับรางวัล –พฤติกรรมไม่ดี/ผิด คือ พฤติกรรมที่ทำแล้วถูกทำโทษ
ขั้นที่2แสวงหารางวัล(อายุ 7-10ปี) –ทำดีเพราะหวังผลรางวัล ไม่คำนึงถึงผลความถูกต้อง
-ยึดผลประโยชน์ของตนเป็นส่วนใหญ่ -ทำเพื่อเป็นการแลกเปลี่ยน ทำดีเพราะอยากได้รางวัล
ระดับที่2 มีจริยธรรมตามกฎเกณฑ์ CONVENTIONAL LEVEL
ขั้นที่3 ทำตามความคาดหวังและการยอมรับในสังคม(อายุ10-13ปี) -ทำตามที่ผู้อื่นเห็นชอบ เพื่อเป็นที่ยอมรับของกลุ่ม(เพื่อน)
-ทำดีตามความคาดหวังของพ่อแม่ -ไม่เป็นตัวของตัวเอง คล้อยตามผู้อื่น พฤติกรรมดี คือพฤติกรรมที่ทำให้ผู้อื่นชอบและยอมรับหรือไม่ทำผิดเพราะเกรงว่าพ่อแม่จะเสียใจ
ขั้นที่4กฎและระเบียบของสังคม(อายุ 13-16ปี) –รู้ถึงบทบาทหน้าที่ของตน -ปฎิบัติตามระเบียบสังคมอย่างเคร่งครัด
-เคารพกฎหมาย พฤติกรรม คือ พฤติกรรมที่ปฎิบัติตามกฎระเบียบหรือกฎหมาย
ระดับที่3 มีจริยธรรม อย่างมีวิจารณญาณ POSTCONVENIONAT LEVEL
ขั้นที่5ทำตามสัญญาหรือสัญญาสังคม(อายุ16ปีขึ้นไป) -คำนึงถึงประโยชน์ของคนหมู่มาก -เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน
ขั้นที่6 คุณธรรมสากล(วัยผู้ใหญ่) –คำนึงถึงความถูกต้อง ยุติธรรม –ยอมรับในคุณค่าความเป็นมนุษย์-มีอุดมคติและคุณธรรมประจำใจ -มีความยืดหยุ่นและยึดหลักจริยธรรมของตนอย่างมีสติ -ละอายและเกรงกลัวต่อบาป
-มีความต้องการที่จะเสียสละเพื่อส่วนรวมอย่างแท้จริง
นางสาวสุภิกา มินทะระ หมู่ 2 รหัส 037-8
สาขาคณิตศาสตร์ ปี 2