Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรพยาบาลบุคคลที่มีกลุ่มโรควิตกกัลวล - Coggle Diagram
กรพยาบาลบุคคลที่มีกลุ่มโรควิตกกัลวล
ความวิตกกังวล Anxiety
ความหมาย
อุบัติการณ์ Epidemiology
สาเหตุ
ปัจจัยทางชีววิทยา Biological factors
ปัจจัยทางจิตวิทยาPsychological factors
ปัจจัยทางสังคมและสิ่งแวดล้อม Social and environmental factors
ลักษณะอาการของความวิตกกังวล
ระดับความวิตกกังวล
ลักษนะของความวิตกกังวล
การบำบัดรักษา
1.การรักษาด้วยยา
2.การรักษาทางจิตสังคม
3.การบำบัดทางเลือก Alternative therapy
ชนิดของโรคในกลุ่มของโรควิตกกังวล
Generalized Anxiety Disorders GAD โรคกังวลทั่วไป
การกลัวเหตุการณ์ร้ายๆ เช่น การกลัวสามีถูกทำี้าย กลัวลูกถูกรถชน
อาการ ตาม DSM5
1.วิตกกังวลมากผิดปกติ อย่างน้อย 6 เดือนขึ้นไป เกี่ยวกับเหตุการเช่น เรียน ทำงาน
2.ยากที่จะควบคุม
3.เกี่ยวกับ อาการ 3 อย่างจาก 6 อย่าง 1.กระสับกระสาย 2.อ่อนเพลียไม่มีแรง 3.ใจลอย 4.หงุดหงิดง่าย 5.ปวดเมื่อตามร่างการ กล้ามเนื้อตึง 6.มีปัญหาการนอน
4.บกพร่องการเข้าสังคม
ระบาดวิทยา
อาการมักเริ่มในวัยเด็กและวัยรุ่น ร้อยละ50มีโรคจิตเวชอื่นร่วม
การรักษา
1.จิตบำบัด
CBT มองโรคอย่างเหมาะสม
2.การรักษาด้วยยา benzodiazepine
เช่น Diazepamลดวิตกกังวล ยากลุ่ม
SSRI
ใช้ลดอาการใจสั่น ผลข้างเคียงเช่น Depression , Bradycardia , Nausea
Panic disorder
อาการ Panic attack ตาม DSM 5 กล่าวว่า เป็น ความรู้สึกกลัว หรือไม่สบาย ใจอย่างรุนแรง ซึ่งเกิดขึ้นในระยะเวลารวดเร็วภายในไม่กี่นาทีและถึงระดับสูงสุดในระยะเวลา 10นาที จะต้องมี อาการแสดงเกิดขึ้นอย่างน้อย 4 อาการ
1.1 ใจสั่น หัวใจเต้นแรง หรืออัตราเต้นของหัวใจเร็ว 1.2 เหงื่อออกมาก 1.3 สั่นทั้งตัว 1.4 หายใจเร็วถี่ 1.5 รู้สึกอยากอาเจียน 1.6 เจ็บแน่นหน้าอก 1.7 คลื่นไส้ ปั่นป่ วนในท้อง 1.8 รู้สึกวิงเวียน สมองตื้อ โคลงเคลง หรือจะเป็นลม 1.9 ร้อน ๆ หนาว ๆ ตามตัว
อาการที่เกิดอย่างน้อยครั้งหนึ่ง จะต้องมีอาการอยู่เป็นเวลาตั้งแต่ 1 เดือนขึ้นไป โดยเกิดอาการใด
อาการหนึ่ง หรือทั้ง 2 อาการ ได้แก่
2.1 กังวลตลอดเวลาว่าจะเกิดมีอาการขึ้นอีก เช่น การสูญเสียการควบคุม หัวใจ หยุดเต้น
อาการคล้ายจะเป็นบ้า
2.2 การแสดงพฤติกรรมการปรับตัวที่ไม่มีประสิทธิภาพจะเกี่ยวข้องกับการเกิด อาการ ได้แก่
การแสดงพฤติกรรมในการหลีกเลี่ยงการเกิดความกลัวอย่างรุนแรง (Panic attack) เช่น การหลีกเลี่ยง
การออกก าลังกาย หรือสถานการณ์ที่ไม่คุ้นเคย
อาการที่เกิดขึ้นไม่ได้เป็นผลต่อร่างกายจากการใช้สารต่าง ๆ เช่น การใช้ยาเสพติด ยารักษาโรค หรือ
อาการของโรค เช่น Hyperthyroidism, Cardiopulmonary disorders
อาการ panic attack ไม่ได้เกิดจากโรคจิตเวชอื่นๆ เช่น social phobia, specific phobia, obsessive
compulsive disorder หรือ posttraumatic stress disorder
การรักษา
จิตบ าบัด เช่น Cognitive behavior therapy (CBT) ร่วมกับ Relaxation Technique การฝึกหายใจ
เมื่อเกิด Hyperventilation
การรักษาด้วยยา ได้แก่ ยากลุ่ม SSRI เช่น Fluoxetine และ Benzodiazepine เช่น Alprazolam
Phobia disorder
อาการเด่น คือ กลัว วิตกกังวล ตั้งแต่ 2 สถานการณ์จาก 5 สถานการณ์ ดังนี้
1.1 การใช้ขนส่งมวลชน เช่น รถยนต์โดยสาร รถโดยสารประจ าทาง รถไฟ เรือเครื่องบิน
1.2 ที่โล่งกว้าง เช่น ลานจอดรถ ตลาด สะพาน
1.3 สถานที่ที่มีผู้คนมาก เช่น ร้านค้า โรงภาพยนตร์ โรงละคร
1.4 การเข้าคิวในแถว หรือสถานที่ที่มีคนหนาแน่น
1.5 การอยู่นอกบ้านคนเดียวตามล าพัง
โรคกลัวสังคม (Social phobia หรือ Social anxiety disorder)
กลัวอย่างชัดเจน หรือวิตกกังวลเกี่ยวกับสถานการณ์ในสังคม ซึ่งผู้ป่ วยจะรู้สึกก าลังถูกเฝ้ามองในการมี
ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม เช่น การพบปะสนทนา การประชุมกับบุคคลที่ไม่คุ้นเคย การก าลังถูกมองเป็นเป้าสายตา
การอยู่ต่อหน้าบุคคลอื่น เช่น การกล่าวค าปราศรัย หรือสุนทรพจน
ข้อสังเกต ในเด็ก ความกลัว หรือวิตกกังวล อาจจะเกิดขึ้นในขอบเขตของเพื่อน ไม่ใช่อยู่ในระหว่างการมี ปฏิสัมพันธ์กับผู้ใหญ่ 2. บุคคลกลัวว่าตนเองจะแสดงวิธี หรือแสดงอาการวิตกกังวล ซึ่งจะถูกประเมินภาพลบ เช่น จะเป็นความ อดสู หรือความน่าอาย ซึ่งจะน าไปสู่การปฏิเสธ หรือไม่พอใจจากบุคคลอื่น 3. สถานการณ์ทางสังคมจะเป็นสาเหตุให้เกิดความกลัว และความวิตกกังวล
การรักษา Specific phobia ใช้วิธีExposure therapy มากที่สุด Social phobia ใช้วิธีการท าจิตบ าบัดร่วมกับการใช้ยา ได้แก่ ยากลุ่ม SSRI เช่น Paroxetine ยา Benzodiazepine เช่น Clonazepam และยา Beta-adrenergic antagonist เช่น Propranolo
Obsessive Compulsive Disorders
ยา ้คิด (Obsessions)
1.1 มีความหมกมุ่น โดยเกิดขึ้นซ ้าๆ มากระตุ้น หรือมโนภาพจากประสบการณ์ในบางเวลาระหว่างที่มี
อาการ ซึ่งเป็นสิ่งที่มารบกวนและไม่ต้องการ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นสาเหตุให้เกิดความกังวล และมีความทุกข์ทรมาน
ใจอย่างมาก
1.2 ผู้ป่ วยพยายามที่จะเพิกเฉย หรือหยุดยั้งความคิด การกระตุ้น หรือมโนภาพหรือต่อต้านด้วยความคิด
หรือการกระท า
ยา ้ทา (Compulsive)
1.1 พฤติกรรมที่ท าซ ้า ๆ เช่น การล้างมือ การออกค าสั่ง การตรวจตราสิ่งของ หรือการแสดงออกด้าน
จิตใจ เช่น การสวดมนต์ การนับ การพูดค าซ ้า ๆ อย่างเงียบ ๆ ซึ่งบุคคลจะรู้สึกมีแรงขับที่ปฏิบัติในการตอบสนอง
ต่อการย ้าคิด หรือการท าตามกฎเกณฑ์อย่างเคร่งครัด
1.2 พฤติกรรม หรือการแสดงออกด้านจิตใจเพื่อที่จะป้องกัน หรือลดความกังวลหรือความทุกข์ทรมานใจ
มาก หรือป้องกันเหตุการณ์หรือสถานการณ์ที่น่ากลัว
การรักษา
พฤติกรรมบ าบัด จะใช้หลัก Exposure และ Response prevention ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือจาก
ผู้ป่ วยมาก
การรักษาด้วยยา ยากลุ่ม SSRI เช่น Fluoxetine