Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Development of Pharyngeal apparatus, 4th arch muscle, 6th arch muscle -…
Development
of
Pharyngeal apparatus
Pharyngeal pouch
เจริญมาจาก endoderm
เป็นร่องเว้าอยู่ใต้ arch แต่ละอัน
จะเจริญไปเป็นผิวที่อยู่ด้านในของ pharynx และเป็นต่อมบางตัว
เช่น palatine tonsil, thymus
การเจริญของ Pharyngeal pouch
เจริญจากฝั่งหัว ไปฝั่งหาง
week 6 : มีการยื่นของ pouch ลงไปด้านล่าง
Week7 : pouch มีการดึง endoderm migrate ลงมาเกิดเป็นต่อม
Pouchมี 2 ฝั่งจะมารวมกันตรงกลาง ทําให้ต่อมมีความสมมาตรกัน
1st pharyngeal pouch
จะเจริญเป็น Epithelial lining of middle & outer ear cavities
โดย 1st pharyngeal pouch จะะไม่ได้ migrate ไปไหน แต่จะงอกไปเชื่อมกับ pharyngeal cleft
เกิดเป็นช่องว่างของ middle และ outer ear cavities, tympanic membrane
2nd pharyngeal pouch
เจริญเป็น palatine tonsil
Endodermal epithelial ของ 2nd pharyngeal pouch form กันเป็นก้อนแล้ว invade เข้า pharyngeal arch
โดยจะถูกล้อมรอบด้วย mesoderm ที่อยู่ใน arch→migrate ต่อไป form เป็น primordium palatine tonsils→เนื้อของ primordium palatine tonsils
จะมี ectoderm จาก 2nd pouch ล้อมรอบด้วย mesenchymal tissueโดยเนื้อตรงกลางจะมีการ break down เกิดเป็น tonsilar crypt
3rd pharyngeal pouch
dorsal part เจริญเป็น inferior parathyroid gland
ventral parts เจริญเป็น thymus
3rd pharyngeal pouch เป็น endodermal tissue 2 ส่วนที่จะ migrate แล้วแยกส่วนเป็น dorsal part, ventral part
ตอนแรกที่ migrate มา inferior parathyroid gland และ thymus จะอยู่ด้วยกันก่อนแล้วจึงแยกกันในภายหลัง
4th pharyngeal pouch
Dorsal part เจริญเป็น parathyroid primordia แล้วเจริญต่อเป็น superior parathyroid gland
Ventral part เจริญเป็น ultimobranchial body แล้วเจริญต่อเป็น parafollicular cells of thyroid
โดนตอนแรก parathyroid primordia และ ultimobranchial body migrate มาด้วยกันแล้วจึงแยกกันไปเจริญต่อในภายหลัง
Pharyngeal grooves
1st pharyngeal groove→ external acoustic meatus
1st pharyngeal groove เป็นเพียง groove เดียวที่สามารถเห็นได้ใน postnatal life
Components of pharyngeal apparatus
Pharyngeal arches
Fate of Pharyngeal arches
Week 7
arch 2 ที่งอกทับ arch 3,4 มาเชื่อมกับ arch ที่ 6
Week 5
มีการงอกของ arch ที่2 ไปทับ arch ที่ 3,4 และเกิดช่องว่าง คือ cervical sinus
Formation ของ pharyngeal arches
ขึ้นอยู่กับสัญญาณจาก pharyngeal pouches
โดยจะเริ่มการเปลี่ยนแปลงใน pharyngeal pouches ก่อน แล้วมีการส่งสัญญาณให้เกิดการ transcription ของ gene ที่ทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของ groove จากนั้นจะส่งสัญญาณให้ arch เจริญต่อ
เจริญมาจาก mesoderm และ neural crest cells
เป็นโครงสร้างหลักที่เจริญจาก formation of pharyngeal apparatus
พัฒนาไปเป็น primitive pharynx
แบ่งเป็น
1st pharyngeal arch
Maxillary prominence : เจริญเป็น
maxilla
zygomatic bone
vomer bone
Mandibular prominence: เจริญเป็น
mandible
squamous temporal bone
2nd pharyngeal arch
เจริญเป็น hyoid bone
Components of pharyngeal arch
cartilaginous bar เจริญมาจาก neural crest cell ที่มาจาก forebrain
1st pharyngeal arch cartilage / Meckel cartilage
dorsal part : เจริญไปเป็น malleus และ incus
ventral part : เจริญไปเป็น primordium of the mandible, ใน fetus จะมี mandible แยกกัน 2 ข้าง เมื่อใกล้คลอดกระดูกจะมา fuse กันตรงกลาง โดย intramembranous ossification
มี anterior ligament of malleus และ sphenomandibular ligament เชื่อม dorsal และ ventral part
2nd pharyngeal arch cartilage / Reichert cartilage
dorsal part : เจริญไปเป็น stapes และ styloid process of the temporal bone
ventral end : เจริญไปเป็น lesser horn และ superior part of the body of the hyoid bone
มี stylohyoid ligament เชื่อมระหว่าง styloid process และ hyoid bone
3rd pharyngeal arch cartilage
เจริญไปเป็น greater horn และ inferior part of the body of the hyoid bone
4th & 6th pharyngeal arch cartilage
เจริญไปเป็น laryngeal cartilages ยกเว้น epiglottis
skeletal muscle
เจริญมาจาก paraxial mesoderm
เลี้ยงโดย cranial nerve ที่เจริญมาจาก neuroectoderm ซึ่งจะเลี้ยงทั้ง muscle, dermis และ mucous membrane
1st pharyngeal arch muscle
เจริญไปเป็น
muscle of mastication : temporalis, masseter, madial pterygoid, lateral pterygoid
mylohyoid
anterior belly of digastric
tensor tympani
tensor veli palatine
เลี้ยงด้วย CN V3
2nd pharyngeal arch muscle
เจริญไปเป็น
muscle of facial expression : orbicularis oculi, orbicularis oris, risorius, platysma, auricularis, occipitofrontalis, buccinator, nasalis, zygomaticus major, zygomaticus minor
posterior belly of digastric
stylohyoid
stapedius
เลี้ยงด้วย CN VII
3rd pharyngeal arch muscle
เจริญไปเป็น stylopharyngeus muscle
เลี้ยงโดย CN IX
4th & 6th pharyngeal arch muscle
เจริญไปเป็น
middle pharyngeal constrictor muscle
inferior pharyngeal constrictor muscle
cricothyroid
levator veli palatine
superior pharyngeal constrictor muscle
เจริญไปเป็น
intrinsic muscles of the larynx : transverse arytenoid muscle, thyroarytenoid muscle, posterior cricoarytenoid muscle, lateral cricoarytenoid muscle
aortic arch artery
เจริญมาจาก aortic sac โดย aortic sac เจริญมาจากหัวใจ แล้วค่อยมีเส้นเลือดออกมา
แบ่งเป็น
1st aortic arch : เจริญไปเป็น maxillary artery
2nd aortic arch
fetus : เจริญไปเป็น stapedial artery
adult : เจริญไปเป็น corticotympanic artery
3rd aortic arch : เจริญไปเป็น common carotid artery และ proximal internal carotid artery
4th aortic arch
ด้านซ้าย : เจริญไปเป็น arch of aorta
ด้านขวา : เจริญไปเป็น right subclavian artery
6th aortic arch
ด้านซ้าย : เจริญไปเป็น left pulmonary artery และ ductus arteriosus
ด้านขวา : right pulmonary artery
Pharyngeal membrane
เกิดจากการเว้าเจอกันของ grooves และ pouches เกิดเป็น external acoustic meatus,
tympanic cavity ที่มี tympanic membrane กั้นกลาง
Congenital anomalies of pharyngeal apparatus
เกิดจากความผิดปกติในการ migrate หรือ proliferate ของโครงสร้างที่มาจาก neural crest cell ทําให้เกิด craniofacial malformation (ผิวหน้าและกะโหลกศีรษะมีความผิดปกติ)
1.First pharyngeal arch syndrome
1.1 Treacher Collins syndrome (mandibulofacial dysostosis)
เกิดจาก Mutation of TCOF1 gene ทําให้มีความปกติในนการ translate โปรตีน treacle ซึ่งเป็นโปรตีน
ที่ induceให้เกิดการ differentiate ของ neural crest cell เป็น facial bone
อาการ
Malar hypoplasia (zygomatic bone ไม่เจริญ)
Mandibular hypoplasia (mandibular ไม่เจริญ)
Down slanting palpebral fissures (หางตาตก)
cleft palate
ฟันหลุดง่าย
1.2 Pierre Robin syndrome
Autosomal recessive disorder
อาการ
mandible hypoplasia
Glossoptosis (ลิ้นตก) : ลิ้นไปอยู่ที่ larynxเ พราะไม่มี mandibleให้เกาะ ลิ้นจึงไปอุดกั้น
ทางเดินหายใจทําให้เกิด Respiratory distress
DiGeorge syndrome
สาเหตุ: chromosome คู่ที่ 22 ตําแหน่ง q11เกิด deletion
ทําให้เกิด Hypoplasia of the 3rd & 4th pharyngeal pouches แล้วทําให้ fail to differentiate into the thymus and
parathyroid glands จึงมีผลต่อการสร้าง hormone และระบบ immune
อาการ
Congenital hypoparathyroidism
shortened philtrum
cleft lip
Low-set ear
Cardiac abnormalities
Cervical (branchial) sinus
3.1 Cervical (branchial) cyst
เกิดจากมีการสะสมของ fluid, debris ภายใน cervical sinus เกิดเป็น cyst
ตําแหนง่ที่เกิด:ตามแนว sternocleidomastoid muscle
3.2 Cervical (branchial) fistula
สาเหตุ : Membrane ที่ปิด cervical sinus สลายทําให้เกิดรูเปิด ภายในมีการสะสม fiuld, debris
มี 2 แบบ external cervical fistula, Internal cervical fistula
4th arch muscle
6th arch muscle