Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.7 การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีการเจ็บป่วยทางจิตเวช …
5.7 การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีการเจ็บป่วยทางจิตเวช
บุคคลที่มีกลุ่มโรคจากเหตุสะเทือนขวัญและความเครียด
- ภาวะการปรับตัวผิดปกติ (adjustment disorder)
ภายใน 3 เดือน
พฤติกรรมที่เกิดขึ้นจะคงอยู่ไม่นานเกิน 6 เดือน
พบได้ในชีวิตประจำวัน เช่น เลิกกับคนรัก, ปัญหาทางธุรกิจ, ปัญหาในชีวิตสมรส
เกิดขึ้นในชีวิตที่เกิดตามพัฒนาการ เช่น การไปโรงเรียน, การแต่งงาน, การคลอดลูก
สาเหตุ
1) ปัจจัยทางด้านชีวภาพ
มีความ
ผิดปกติทางด้านสมอง
2) ปัจจัยทางจิตสังคม
ลักษณะภาวะความกดดันที่เกิดขึ้นในชีวิต
ผู้ที่มีพื้นอารมณ์แต่กำเนินที่มีความวิตกกังวลสูง
ความเปราะบางทางจิตใจของบุคคล พบว่า ผู้ที่มีประวัติสูญเสียพ่อหรือแม
การบำบัด
1) การบำบัดด้วยยา
เช่น ผู้ป่วยมีอาการซึมเศร้า, วิตกกังวลสูง อาจจะได้ยาคลายกังวลหรือยาแก้ซึมเศร้า
ระมัดระวังหากได้รับยาในกลุ่ม benzodiazepine
ซึ่งอาจทำให้เกิดภาวะการติดยาได้ง่าย
2) การบำบัดทางจิตใจ
ช่วยเหลือให้ผู้ป่วย
มีการปรับตัวที่ดีขึ้น
โดยมีเป้าหมายระยะยาวเพื่อก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงใน
วิธีการต่อสู่ปัญหาของผู้ป่วย
การพยาบาล
สนับสนุนให้ผู้ป่วยได้มีสำรวจ พูด สิ่งต่าง ๆที่เกิดขึ้นกับตนเอง ทั้งทางด้านความรู้สึกไม่สบายใจ วิตก
กังวล พฤติกรรม ความกดดันต่าง ๆ
ให้ผู้ป่วยสำรวจถึงวิธีการเดิมที่เคยใช้ในการการปรับตัวเพื่อลดความความกดดันทางจิตใจใน
อดีต
การฝึกและใช้การผ่อนคลาย (relaxation exercise) การทำงานอดิเรก (hobbies) การทำกิจกรรมเพื่อพักผ่อนหย่อนใจ (recreational activity)
ให้คำแนะนำหรือให้ความเห็นเพื่อช่วยในการตัดสินใจในการปรับตัว
อาจต้องปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อม เช่น ที่อยู่ งาน
เข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล
การบำบัดครอบครัว (family therapy)
- โรคเครียดแบบเฉียบพลัน (acute stress disorder: ASD)
อาการแสดงตั้งแต่
3 วันขึ้นไปจนถึง 1 เดือนหลังเผชิญหรือถูกคุกคามจากเหตุการณ์สะเทือนขวัญ
ถูกทำร้ายร่างกายรุนแรง ประสบ
อุบัติเหตุรุนแรง การถูกล่วงละเมิดทางใดทางหนึ่ง
อาการ
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นมาซ้ำๆ
ความทรงจำเกี่ยวกับเหตุการณ์สะเทือนขวัญผุดขึ้นมาซ้ำ ๆโดยไม่ตั้งใจ
มีการฝันถึงเนื้อหาเหตุการณ์ที่ถูกคุกคาม
มีความรู้สึกเหมือนกับว่าเหตุการณ์สะเทือนขวัญ กำลังเกิดขึ้นอีก (flashback)
มีความทุกข์ใจอย่างหนักและยาวนาน
มีปฏิกิริยาการตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เป็นสัญลักษณ์หรือคล้ายกัน
มีความนึกคิดและอารมณ์เปลี่ยนไปในทางลบหลังเกิดเหตุการณ์สะเทือนขวัญ
ไม่สามารถระลึกถึงส่วนสำคัญของเหตุการณ
มีความเชื่อและความคาดหวังกับตัวเอง คนอื่น
กลัว โกรธ อาย รู้ผิด
ความสนใจหรือมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ลดลงอย่างมาก
รู้สึกแปลกแยกจากผู้อื่น
ไม่รู้สึกสุข, พอใจ, รัก
หลีกเลียงหรือพยายามจะเลี่ยงความทรงจำ ความคิด
หลีกเลียงสิ่งภายนอกที่ทำให้นึกถึงเหตุการณ์สะเทือนขวัญนั้น
หงุดหงิดและโกรธง่าย ทำร้ายตัวเอง ระแวดระวังมากไป ตกใจมากกว่าปกติ หลับยาก, หลับไม่สนิท, นอนไม่เต็มอิ่ม
สาเหตุ
1) ปัจจัยทางด้านชีวภาพ
มีความผิดปกติของสารสื่อประสาทได้แก่ norepinephrine และdopamine
มีการหลั่ง glucocorticoid
2) ปัจจัยทางจิตสังคม
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ : เมื่อความขัดแย้งในจิตไร้
สำนึกถูกกระตุ้นโดยเหตุการณ์ที่รุนแรง ห้ผู้ป่วยเกิดพฤติกรรมถดถอยและหันไปใช้กลไกป้องกันตนที่ไม่เหมาะสม
ทฤษฎีทางความคิดและพฤติกรรม : ภาพ เสียง กลิ่น ทำให้พอเจอสิ่งเตือนให้นึกถึงการ
เผชิญหรือถูกคุกคามจากเหตุการณ์สะเทือนขวัญที่เกิดขึ้นในชีวิตนั้นก็จะมีอาการ หวาดกลัว
การบำบัด
1) การบำบัดด้วยยา
ยาในกลุ่ม SSRIs: sertraline, paroxetine
ยาในกลุ่ม TCAs : amitriptyline, imipramine
ได้รับยาต่อเนื่องอย่างน้อย 1 ปี
2) การบำบัดทางจิตใจ
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยได้พูดระบายความคิด ความรู้สึก
เกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เผชิญมาเท่าที่ผู้ป่วยต้องการ โดยไม่ลงรายละเอียด
การใช้เทคนิคการผ่อนคลายความเครียด (relaxation techniques)
- โรคเครียดหลังผ่านเหตุการณ์สะเทือนขวัญ (post-traumatic stress disorder: PDST)
อาการแสดงตั้งแต่ 3 เดือนขึ้นไป
ถูกทำร้ายร่างกายรุนแรง ประสบอุบัติเหตุรุนแรง การถูกล่วงละเมิดทางใดทางหนึ่ง ลักษณะที่เผชิญเหตุการณ์
สะเทือนขวัญนั้นอาจเกิดขึ้นโดยตรงด้วยตนเอง,
อาการ
มีความทรงจำ ผุดขึ้นมาซ้ำๆ
มีการฝันถึงเนื้อหาของเหตุการณ์
มีการกระทำหรือมีความรู้สึกเหมือนกับว่าเหตุการณ์จะเกิดขึ้นอีก
มีความทุกข์ใจอย่างหนักและยาวนาน
สาเหตุ
เหมือนกับโรคเครียดแบบเฉียบพลัน
การบำบัด
ให้ผู้ป่วยเผชิญหน้ากับเหตุการณ์สะเทือนขวัญ
อีกครั้งผ่านการจินตนาการ (exposure therapy)
การสอนวิธีการปรับตัวกับภาวะเครียด (stress
management)
การให้ผู้ป่วยนึกภาพเหตุการณ์สะเทือนขวัญไปพร้อมกับมองตามนิ้วมือของผู้บำบัดที่เคลื่อนไหว
ไปมาตามขวาง (eye movement desensitization and reprocessing : EMDR)
การพยาบาล
สนับสนุนให้ผู้ป่วยเกิดความรู้สึกปลอดภัย โดยจัดสิ่งแวดล้อมหรือสถานที่ที่ปลอดภัย
ให้ความรู้เกี่ยวกับการสนองตอบหลังการเผชิญหรือถูกคุกคามเหตุการณ์สะเทือนขวัญ เพื่อความเข้าใจและตระหนักในตนเอง
-การบำบัดความคิดและพฤติกรรม (cognitive behavior therapy) เช่น การกรอกตา (eye movement desensitization and
reprocessing: EMDR)
การพยาบาล
การประเมินสภาพ
สาเหตุ ผลกระทบ วิธีการ
ตอบสนองของผู้ป่วย ระดับความรุนแรง ระยะเวลาความผิดปกติที่เกิดขึ้น