Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาจิตสังคม บุคคลที่มีภาวะซึมเศร้าและฆ่าตัวตา…
บทที่ 3 การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาจิตสังคม บุคคลที่มีภาวะซึมเศร้าและฆ่าตัวตาย
1) ความหมาย ลักษณะอาการและอาการแสดงระดับซึมเศร้าและฆ่าตัวตาย
ซึมเศร้า
ภาวะซึมเศร้า หมายถึง การที่บุคคลมีพฤติกรรมที่เกิดจากภาวะจิตใจที่หม่นหมอง. หดหู่เศร้าสร้อย ท้อแท้ สิ้นหวัง มองโลกในแง่ร้าย ซึ่งสาเหตุมาจากการสูญเสียสิ่งสำคัญทั้งที่เกิดขึ้นจริงหรือปรุงแต่งขึ้น
ลักษณะอาการและ
อาการแสดงของซึมเศร้า
3) การเปลี่ยนแปลงด้านสังคม มักจะพบวาา ผู้ป่วยมีความสนใจในสิ่งแวดล้อมลดลง
2)ความสนใจในตนเองลดลงเช่น ความสนใจในตนเองลดลง เช่นไม่รักษาสุขคอนามัยของส่วนบุคคล ขาดการมีระเบียบเรียบร้อยการเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจและอารมณ์
1)การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย
นอนไม่หลับ หนึ่งถึงสองสัปดาห์
ร้อยละ 25 มีอาการอ่อนเพลียเหนื่อยง่าย
เบื่ออาหาร การรับรสชาติเปลี่ยนแปลงไม่อยากอาหาร
ท้องผูก
ระดับความซึมเศร้า
ภาวะซึมเศร้าระดับอ่อน (mild depression/blue mood) คือ ภาวะอารมณ์ที่ไม่สดชื่น หม่นหมองบุคคลทั่วไปมักมีประสบการณ์กับภาวะซึมเศร้าระดับนี้เป็นครั้งคราวเช่น เมื่อต้องแยกจากบุคคลอันเป็นท่ีรักโดยมักมี ภาวะซึมเศร้าระดับน้ีเพียงชั่วคราวหรือเมื่อตกในสถาณการณ์ท่ีบุคคลต้องอยู่ลําพังโดดเดี่ยว
ภาวะซึมเศร้าระดับปานกลาง (moderate depression/neurotic depression) คือ ภาวะอารมณ์ ซึมเศร้าที่รุนแรงขึ้นกว่าระดับอ่อน จนถึงขั้นกระทบกระเทือนต่อการปฏิบัติภารกิจประจําวัน แต่สามารถดําเนินชีวิตได้ อย่างปกติ แต่จะขาดประสิทธิภาพไปบ้าง
ภาวะซึมเศร้าระดับรุนแรง(severedepression/Psychoticdepression)
คือภาวะของอารมณ์ ซึมเศร้าที่รุนแรงอย่างมาก มีการเปลี่ยนแปลงด้านพฤติกรรมโดยทั่วๆ ไปอย่างเห็นได้ชัดเจน
ฆ่าตัวตาย
การฆ่าตัวตาย(suicide)หรือใช้คําว่าาอัตวินิบาตกรรมหมายถึงการที่บุคคลมีความคิดอยากทําร้าย
ตนเอง และพยายามทําให้ชีวิตของตนเองสิ้นสุดลงด้วยวิธีการต่างๆ ท่ีไม่ใช่อุบัติเหตุ การฆ่าตัวตายถือเป็นพฤติกรรมที่ ผิดปกติ และมีพยาธิสภาพทางจิตใจ
ลักษณะอาการและอาการแสดงของการฆ่าตัวตาย
บุคคลจะพยายามทำร้ายตัวเองด้วยวิธีต่างๆ
บุคคลกลุ่มนี้มีความคิดซ้ำๆจะทำร้ายตนเอง
บุคคลกลุ่มนี้จะมีอารมณ์ซึมเศร้าชัดเจนมีความมุ่งมั่นที่จะฆ่าตัวตายให้สำเร็จ
สาเหตุการเกิดภาวะซึมเศร้าและการฆ่าตัวตาย
สาเหตุการฆ่าตัวตาย
1) สาเหตุด้านชีวภาพ
5-Hydroxyindoleaceticacid(5-HIAA)ซึ่งเป็นสารสื่อประสาทที่ทําให้บุคคลมีอารมณ์เศร้ามี เพิ่มมากขึ้น
การเจ็บป่วยทางด้านร่างกายที่เรื้อรังที่มีความทุกข์ทรมาน
2) สาเหตุด้านจิตใจ
การเจ็บป่วยทางจิตใจที่มักเป็นสาเหตุของการฆ่าตัวตาย
ด้านจิตวิเคราะห์ (psychoanalytic theory)
ด้านพฤติกรรมและการรู้คิด (cognitive-behavioral theory) อธิบาย ว่า การฆ่าตัวตายเป็นผล มาจากการเรียนรู้ต่อสิ่งเร้าที่เป็นอันตราย(noxiousstimulus)ว่าไม่สามารถแก้ไขหรือจัดการกับปัญหาเหล่านั้น ได้
3) สาเหตุทางด้านสังคม
ทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล อธิบายว่า การฆ่าตัวตายเกิดจากสัมพันธภาพระหว่างบุคคลที่
ไม่ดีในระยะ 2 ปีแรกของช่วงชีวิต
4) สาเหตุด้านจิตวิญญาณ
บุคคลที่ขาดที่พึ่งหรือสิ่งที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ จะทําให้บุคคลรู้สึกโดดเดี่ยว สิ้นหวัง
สาเหตุการเกิดภาวะซึมเศร้า
1) แนวคิดด้านการใช้กลไกทางจิตใจ อธิบายว่าา ผู้ที่มีพฤติกรรมซึมเศร้า มีสาเหตุมาจากความเจ็บปวดที่เกิดจากความสูญเสีย(loss)ในสิ่งท่ีมีความหมายต่อตนเอง
2) แนวคิดด้านการเปลี่ยนแปลงของสารชีวเคมีในร่างกาย พบว่าา ผู้ที่มีอารมณ์ซึมเศร้าเกิดจากการลด น้อยลงของสารจําพวกไบโอจินิก อะมีนส์ (biogenic amines) ในทางระบบประสาทส่วนกลาง ซึ่งมีคุณสมบัติของการ กลุ่มน้ีจะทําหน้าที่กระตุ้นสมองส่วนที่ทําให้มนุษย์ตื่นตัว
การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะซึมเศร้าและที่มีปัญหาฆ่าตัวตาย
การพยาบาลบุคคลมีปัญหาฆ่าตัวตาย
1)การประเมินปัญหาการฆ่าตัวตาย
ข้อมูลส่วนบุคคลต่างๆที่เป็นปัจจัยเสี่ยง
อาการและอาการแสดง เช่น มีภาวะซึมเศร้าระดับรุนแรง, รู้สึกกไม่มีคุณค่าในตนเองและ ขาดที่พึ่ง
มีความตั้งใจ/มีการวางแผนการฆ่าตัวตายอย่างชัดเจน
ความพร้อมในด้านขอแหล่งสนับสนุนช่วยเหลือทางสังคมของผู้ป่วยเม่ือต้องเผชิญกับภาวะวิกฤต ของชีวิต
2) การวินิจฉัยทางการพยาบาล
การกำหนดเป้าหมายระยะสั้น
เพื่อลดภาวะซึมเศร้า
เพื่อป้องกันการฆ่าตัวตาย
การกำหนดเป้าหมายระยะยาว
เพื่อป้องกันการฆ่าตัวตายซ้ำ
เพื่อดูแลอาการและอาการแสดงทางร่าวกายอื่นๆ
การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะซึมเศร้า
1) การประเมินภาวะซึมเศร้า
ประเมินระดับความรุนแรงของภาวะซึมเศร้า
ประเมินความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของผู้ป่วย
ประเมินการดูแลตนเองด้านสุขอนามัยและกิจวัตรประจําวัน
ประเมินบุคลิกภาพและรูปแบบการเผชิญปัญหาของผู้ป่วยท่ีเคยใช้มา
2) การวินิจฉัยทางการพยาบาล
การกำหนดเป้าหมายระยะสั้น
เพื่อลดภาวะซึมเศร้า
การกำหนดเป้าหมายระยะยาว
เพื่อเสริมสร้างความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองแก่ผู้ป่วย
เพื่อปรับเปลี่ยนบุคลิกภาพและรูปแบบการเผชิญปัญหาที่สร้างสรรค์
3) กิจกรรมการพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพแบบตัวต่อตัวตามแบบแผนการสร้างสัมพันธภาพ
กล่าวทักทายผู้ป่วยสม่ำเสมอ พร้อมเรียกชื่อผู้ป่วยทุกครั้ง
เสนอตัวให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยและนั่งเป็นเพื่อนผู้ป่วยแม้ว่าาผู้ป่วยปฏิเสธ
จัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบําบัด ด้วยการจัดหอผู้ป่วยให้สะอาด มีอากาศถ่ายเท
4) การประเมินผลทางการพยาบาล
ผู้ป่วยมีภาวะซึมเศร้าลดลงโดยสังเกตจากสีหน้าน้าผู้ป่วย มีสีหน้าแจ่มใสมากขึ้น
ผู้ป่วยทักทายพูดคุยกับผู้อื่นได้มากยิ่งขึ้นและสามารถเขา้ร่วมกิจกรรมในหอผู้ป่วยได้
นางสาวจุรีพันธ์ เตชะอัศวรักษ์ 180101042
นักศึกษาพยาบาปีที่3