Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.1 การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีการเจ็บป่วยทางจิตเวช …
5.1
การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีการเจ็บป่วยทางจิตเวช
โรคความผิดปกติของการรับประทานอาหาร
ความหมาย (eating disorder)
บุคคลมีความคิด ความรู้สึกที่มี ต่อรูปร่าง น้ำหนัก ของตนเองอย่างรุนแรง
1.Anorexia nervosa
มีความวิตกกังวลเกี่ยวกับน้ำหนักตัวของตนเองตลอดเวลา
กลัวอ้วนมากๆ ทั้งที่มีน้ำหนักตัวน้อย
มี 2 แบบ
1. แบบจำกัด (restricting type)
คือ ผู้ป่วยไม่มีพฤติกรรมแบบรับประทานมากและไม่มีการ
ขับอาหารออกจากร่างกาย
2. แบบรับประทานมากและมีการขับอาหารออกจากร่างกาย (binge eating
คือ ทำให้ตนเองอาจาเจียน หรือการใช้ยาระบาย ยาขับปัสสาวะ หรือยาสวนถ่ายอย่างพร่ำเพรื่อ ในระยะ 3 เดือน
อาการ
-ปฏิเสธการรับประทานอาหาร
-มีความรู้สึกกังวลและกลัวว่าตนเองจะอ้วนมากเกินไป
-ให้คุณค่ากับตนเองในการประสบความสำเร็จในการลดน้ำหนักตัวและรูปร่าง
-มีการขาดประจำเดือน จะแสดงอาการในช่วงวัยรุ่นตอนต้น
2.Bulimia nervosa
บริโภคได้ในปริมาณมากกว่าปกติ ไม่สามารถควบคุมตนเองได้
เมื่อกินเสร็จจะรู้สึกไม่สบายใจ พยายามเอาอาหารออก เช่น
การล้วงคอให้อาเจียน
ออกกำลังกายอย่างหนักติดต่อกันนานหลายชั่วโมง เพื่อใช้พลังงานจากอาหารที่บริโภคให้หมด
อดอาหาร 2-3 วันเพื่อชดเชยปริมาณพลังงานที่กินไปมากก่อนหน้านี้
มี 2 ลักษณะ
ลักษณะที่1
: กินข้าวช่วงเวลาสั้นๆทีละมากๆ ใช้เวลากิน 2 ชั่วโมง
ลักษณะที่ 2
: ไม่สามารถที่จะควบคุมการรับประทานได้ในระหว่างนั้น
สาเหตุ
biological factors
ด้านพันธุกรรม
anorexia nervosa : คู่แฝดที่เกิดจากไข่ใบเดียวกัน
Bulimia nervosa : คู่แฝดที่เกิดจากไข่ใบเดียวกัน ร้อยละ 22.9
สารสื่อประสาทในสมอง
ความผิดปกติของระบบซีโรโทนิน (serotonin) ซึ่งเป็นตัวควบคุมอารมณ์และความพึงพอใจ
psychological factors
เกิดจากความพยายามยับยั้งแรงขับทางเพศในระดับจิตใต้สำนึก
มีพัฒนาการติดอยู่ที่ระยะปาก (oral stage)
มีความคิดว่าความรู้สึกมีคุณค่าของตนเองอยู่ที่รูปร่างหน้าตามากกว่าอย่างอื่น
บุคคลที่มีบุคลิกภาพพื้นฐานลักษณะเจ้าระเบียบ จริงจัง ต้องการความสำเร็จสูง
ครอบครัวที่บิดามีลักษณะเข้มงวดในกฎระเบียบมาก
sociocultural factors
สังคมเมืองที่มีความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและอุตสหกรรม
สัมพันธภาพในครอบครัว ครอบครัวที่เกิดการหย่าร้าง
การบำบัดรักษา
1) การบำบัดรักษาทางกาย
ให้ได้รับสารอาหารอย่างเพียงพอ
5) พฤติกรรมบำบัด
ปรับพฤติกรรมการรับประทานอาหาร และการออกกำลังกายเพราะผุดคลที่มี
ความผิดปกติของการรับประทานอาหาร
7) กลุ่มบำบัด
มีโอกาสแลกเปลี่ยนประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์ในการปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ผิดปกติร่วมกัน
9) อาชีวบำบัต
แนะแนวอาชีพและฝึก
อาชีพเพื่อให้บุคคลที่มีความผิดปกติของการรับประทานอาหาร สามารถนำไปใช้ในการประกอบอาชีพ
4) การบำบัดความคิด
เพื่อปรับเปลี่ยนความคิดให้มีความคิดแบบมีเหตุผล
2) การบำบัดรักษาด้วยยา
fluoxetine : anorexia nervosa และ Bulimia nervosa
amitriptyline ,imipramine : Bulimia nervosa
olanzapine , risperidone : anorexia nervosa
megestrolacetate : anorexia nervosa
6) ครอบครัวบำบัด
ครอบครัวเข้ามามีส่วนร่วมในการหยุดพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ผิดปกติ
8) โภชนาการบำบัด
การคำนวณการวางแผน
โปรแกมการรับประทานอาหาร วางแผนมื้ออาหาร
3) จิตบำบัดรายบุคคล
เทคนิคการปรับพฤติกรรมเพื่อจัดการกับอาการแสดงที่เกิดขึ้น