Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที 4 การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นทีมีการเจ็บป่วยทางจิตเวช …
บทที 4
การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นทีมีการเจ็บป่วยทางจิตเวช ภาวะออทิซึมสเปกตรัม
ความหมาย ลักษณะอาการและอาการแสดงของภาวะออทิซึม สเปกตรัม
1.1 ความหมายของภาวะออทิซึมสเปกตรัม
กลุ่มโรคทีมีความผิดปกติของพัฒนาการทางระบบประสาท ทีมี ความบกพร่องของพัฒนาการด้าน ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม การสือสารร่วมกับ ความผิดปกติของพฤติกรรม และความสนใจหมกหมุ่นในบางเรือง
1.2 ลักษณะอาการและอาการแสดงของภาวะออทิซึมสเปกตรัม
ลักษณะภายนอกของเด็กทีมีภาวะออทิซึมสเปกตรัมนันจะมี ลักษณะเหมือนกับเด็กปกติทัวไป แต่เด็กจะ มีพฤติกรรมทีแตกต่างจากเด็ก ปกติทัวไป โดยจะแสดงอาการต่างๆ ก่อนอายุ 36เดือนแต่จะไม่ชัดเจนและ จะค่อยๆปรากฏอาการให้เห็นในระยะต้นๆของการพัฒนาการในวัยเด็กตอน ต้น ทําให้มีความบกพร่องในการทําหน้าทีใน ชีวิตประจําวัน ความบกพร่อง ทางสังคม การทํางาน หรือการทําหน้าทีอืนๆ
1) มีความบกพร่องด้านการสือสารและด้านปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
มีความผิดปกติทางอารมณ์และทางสังคม
มีความบกพร่องด้านการสือสาร
-มีความบกพร่องในการสร้างรักษาและเข้าใจในสัมพันธภาพ
2) มีแบบแผนพฤติกรรม ความสนใจ หรือกิจกรรมทีจํากัดซาๆ (stereotyped) ทีไม่มีประโยชน์และ ไม่สามารถหยุดหรือยืดหยุ่นพฤติกรรม
มีการแสดงกิริยาบางอย่างซา (mannerism)
ยึดติดกับสิงเดิม กิจวัตรประจําวันเดิม
มีความสนใจทีจํากัดในขอบเขตทีจํากัดหรือเฉพาะเจาะจง
มีการตอบสนองต่อการรับสัมผัสสิงเร้าทีเข้ามากระตุ้น
สาเหตุ การบําบัดรักษาของภาวะออทิซึมสเปกตรัม
2.1 สาเหตุของของภาวะออทิซึมสเปกตรัม
1) ปัจจัยทางพันธุกรรม พบว่า ในคู่ฝาแฝดแท้ (ไข่ใบเดียวกัน) ทีมี คนหนึงมีภาวะออทิซึมสเปกตรัมแล้ว แฝดอีกคนมีโอกาสเกิดภาวะออทิซึม
2) ปัจจัยทางสมอง ทังในลักษณะโครงสร้างและการทําหน้าทีของ สมอง
มีช่องว่างในสมอง (ventricle) มีขนาดใหญ่กว่าปกติ ขนาดเซลล์ สมองทีมีขนาดเล็ก หรือใหญ่กว่า ปกติ
มีความผิดปกติของสารเคมีในสมอง เช่น ความไม่สมดุลของสาร สือประสาทประเภทซีโรโทนิน (serotonin)
3) ปัจจัยในระยะตังครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลังคลอด ทีมีผล ให้เด็กมีความเสียงสูงในการเป็น ภาวะออทิซึมสเปกตรัม
อายุพ่อแม่ทีมีอายุมาก
เด็กทีคลอดก่อนกําหนด
อายุครรภ์น้อยกว่า 33 สัปดาห์
นาหนักแรกเกิดตากว่าเกณฑ์มาตราฐาน
ภาวะทีไม่เข้ากันของภูมิคุ้มกันระหว่างมารดาและทารก
เลือดออกในไตรมาสแรกของการตังครรภ์
ติดเชือหัดเยอรมัน
ได้รับสารตะกัว
2.2 การบําบัดรักษาภาวะออทิซึมสเปกตรัม
ยา methylphenidate ใช้บรรเทาอาการขาดสมาธิ พฤติกรรมอยู่ ไม่นิ่ง วิ่งไปมา
ยา haloperidol กับ risperidone ทีใช้บรรเทาอาการหงุดหงิด พฤติกรรมวุ่นวายก้าวร้าว พฤติกรรมทําร้ายตนเองหรือผู้อื่น
ยา fluoxetine ใช้บรรเทาอาการซึมเศร้า ลดพฤติกรรมซ่ำๆ
ยา lorazepam ใช้บรรเทาอาการวิตกกังวล
3.พัฒนาทักษะด้านการสื่อสาร ด้วยการทําอรรถบําบัด (speech therapy)
เป็นการส่งเสริม พัฒนาการด้านการสือสารเป็นสําคัญ ให้ เด็กทีมีพัฒนาการด้านภาษาล่าช้าให้มีพัฒนาการกลับมาใกล้เคียงกับเด็กที มีพัฒนาการปกติมากทีสุด และลดรูปแบบการใช้ภาษาทีไม่เหมาะสม ใน กรณีทีเด็กไม่สามารถสื่อสารด้วยคําพูดได้
4) พฤติกรรมบําบัด(behavioral therapy)
“การส่ง เสริมพฤติกรรมทีเหมาะสม การ หยุดพฤติกรรมทีเป็นปัญหา และการสร้าง พฤติกรรมใหม่ทีต้องการ”
5) การบําบัดทางความคิด และพฤติกรรม (cognitive behavioral therapy: CBT)
6) ศิลปะบําบัด (art therapy) ที่นํามาใช้การบําบัดควบคู่ทางการ แพทย์
7) ดนตรีบําบัด (music therapy) เพื่อพัฒนาทักษะทีจําเปนนการส ร้างปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
8) การฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการศึกษา (educational rehabilitation) ทีเหมาะสมสอดคล้องกับความ ต้องการของเด็ก
9) การให้คําแนะนําครอบครัว
10) การฟื้นฟูสมรรถภาพด้านอาชีพ (vocational rehabilitation)ไม่เพียงมีประโยชน์ในการฝกทักษะ
การพยาบาลเด็กทีมีภาวะออทิซึมสเปกตรัม
1) การประเมินสภาพ (assessment) เป็นการรวบรวมข้อมูล เพื่อ ประเมินปัญหาทางการพยาบาล
การซักประวัติเป็นการรวบรวมข้อมูล
การประเมินทางร่างกาย
• การตรวจร่างกาย เป็นการตรวจร่างกายตังแต่ศีรษะจรดปลายเท้า
• ผลการตรวจอื่นๆ เช่น ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การประเมินพัฒนาการ การซักถามบิดามารดา ผู้เลี้ยงดู
บุคคลใกล้ชิด
การสังเกตพฤติกรรม
-การใช้แบบคัดกรองพัฒนาการตามช่วงวัย
• PDDSQ ทีใช้คัดกรองเด็กทีมีอายุ1-4 ปี
• PDDSQ ทีใช้คัดกรองเด็กทีมีอายุ4-18 ปี
2) การวินิจฉัยทางการพยาบาล (nursing diagnosis)
ตัวอย่างข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีพฤติกรรมก้าวร้าวเนื่องจากขาดความสามารถในการควบคุม ตนเอง
มีความบกพร่องด้านการมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่นเนื่องจากมี พฤติกรรมแยกตัว
เสียงต่ออุบัติเหตุเนืองจากมีพฤติกรรมอยู่ไม่นิ่ง
เสียงต่อการทําร้ายตนเองเนื่องจากขาดความสามารถในการ ควบคุมตนเอง
เสียงต่อการขาดสารอาหารเนืองจากมีพฤติกรรมการรับประทาน อาหารซาซาก
3) การวางแผนและการปฏิบัติทางการพยาบาล (planning and implementation)
1) การพยาบาลช่วยเหลือด้านเด็กทีมีภาวะออทิซึมสเปกตรัม เด็กทีมีภาวะออทิซึมสปกตรัม มีความบกพร่องของการรับรู้ การคิด การสือความหมายและ การอยู่ร่วมกับผู้อื่น
การฝึกกิจวัตรประจํา วัน ให้เด็กรู้จักทํากิจวัตรประจําวัน เช่น เมื่อตื่นนอนตอนเข้า ต้องไป เข้า ห้องนา อาบน้ำ แต่งตัว เก็บที่นอน ช่วยจัดโต๊ะรับประทานอาหาร
ฝึกทักษะการสือความหมาย เด็กทีมีภาวะออทิซึม สเปกตรัม จะไม่สามารถสือความหมาย ทีเปนภาษาพูด หรือการแสดงสีหน้า
ฝึกทักษะทางสังคม เด็กทีมีภาวะออทิซึมสเปกตรัม จะไม่มี การแสดงสีหน้าความรู้สึกใดๆ
แก้ไขพฤติกรรมทีไม่หมาะสม ปัญหาพฤติกรรมทีไม่รุนแรง มักสามารถแก้ไขได้ด้วยการ ปรับพฤติกรรม
หลักสําคัญของการปรับพฤติกรรม
• เด็กทําพฤติกรรมใดแล้วได้ผลทีเด็กพอใจก็จะมีแนวโน้มทีเด็กจะกระทํา พฤติกรรมนันซาอีก
• เด็กเรียนรู้จากตัวอย่างหรือตัวแบบ
• เด็กแต่ละคนจะเข้าใจสิงต่าง ๆ ด้วยวิธีการแตกต่างกัน
แนวทางการปรับพฤติกรรมที่เป็นปัญหา
• พฤติกรรมแยกตัว ไม่ สนใจเล่นกับเด็กอื่น ๆ
พยายามพาเด็กไปเล่นกับเด็กอืนหรือพาเด็กไปร่วมกิจกรรมกับกลุ่มเด็กวัย เดียวกันเมือมีโอกาส
ให้แรงเสริมเสริมทางบวก
• พฤติกรรมไม่สบตา
เรียกชื่อทุกครังเมือต้องการพูดคุยกับเด็กหรือต้องการให้เด็กละสายตาจาก การ มองแบบไร้จุดหมาย
ฝึกให้เด็กสบตาคนอืน
ให้แรงเสริมทางบวกทันที
• พฤติกรรมซน อยู่ไม่นิง
ฝึกให้เด็กนังเก้าอีในการทํากิจวัตรประจําวัน
ถ้าเด็กยังนังไม่ครบตามเวลาทีกําหนดหรือทํากิจกรรมไม่เสร็จพยายามลุก เดิน
พาเด็กไปทํากิจกรรมสร้างสรรค์ เพื่อปลดปล่อยพลังงานในร่างกาย
ลดสิ่งเร้าทีทําให้เด็กไม่มีสมาธิ
สอนระเบียบวินัยให้กับเด็ก
• อารมณ์ฉุนเฉียว
เมือเด็กมีอารมณ์ฉุนเฉียวให้จับมือเด็กไว้เบา ๆ
ไม่ควรให้ของทีเด็กต้องการเมือเด็กแสดงอารมณ์ฉุนเฉียว
• พฤติกรรมก้าวร้าว
เมือเด็กมีพฤติกรรมก้าวร้าวให้จับมือเด็กไว้ด้วยสีหน้าเรียบเฉย
ไม่ตําหนิ ดุด่า ประชดประชัน เนืองจากเด็กอาจไม่เข้าใจสิงทีต้องการให้เด็ก ทํา
ไม่ลงโทษรุนแรง เพือให้เด็กหยุด
เมือเด็กมีพฤติกรรมรุนแรงเพือเรียกร้องหรือต่อรองให้ได้สิงทีต้องการ
• พฤติกรรมจํากัด ชอบโยกตัว สะบัดมือ
ไม่ด่าทอ ดุด่า ตําหนิ ประชดประชัน
เบียงเบนพฤติกรรมโดยให้เด็กทํากิจกรรมทีสร้างสรรค์
ให้แรงเสริมทางบวกทันที เมือเด็กทําได้
• พฤติกรรมการกินอาหารแบบเดิมซ้ำๆ
ให้เด็กลองกินอาหารชนิดอืนก่อน ทีจะกินอาหารทีชอบกินซา ๆโดยบอกว่าวันนี มีอาหารให้เลือก 2 ชนิด
ควรทําแบบค่อยเป็นค่อยไปเพื่อให้เด็กสามารถปรับตัวได้ด้วยตนเอง
2) การพยาบาลช่วยเหลือครอบครัวเด็กทีมีภาวะออทิซึม สเปกตรัม
แสดงความเข้าใจยอมรับความรู้สึกของพ่อแม่ทีมีลูกทีมีภาวะออทิ
ช่วยลดความรู้สึผิดหรือกล่าวโทษกันของพ่อแม่
ช่วยลดความวิตกกังวลของพ่อแม่ ด้วยการให้ความช่วย เหลือปัญหาทีพ่อแม่ต้องเผชิญ
4) การประเมินผลทางการ พยาบาล (evaluation)
เป็นการประเมินผลหลังให้การพยาบาลตามตัวชีวัดทีได้ กําหนดไว้ในเกณฑ์การประเมินผลเพือตรวจสอบว่าภายหลังให้การพยาบาล เด็กทีมีภาวะออทิซึมสเปกตรัม เปนไปตามเปาหมายที่วางแผนไว้และ สามารถ แก้ไขปัญหาได้หรือไม่
น.ส.เปมิกา เพิ่มชีวา รหัส180101126