Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผ่าตัด Perioperative Nursing - Coggle Diagram
การพยาบาลผ่าตัด
Perioperative Nursing
ห้องผ่าตัด (Operating Room)
คุณลักษณะห้องผ่าตัดที่ดี
มีความปลอดภัยและมีมาตรฐานการป้องกันการติดเชื้อ
สะดวกในการเคลื่อนย้ายผู้ที่มารับการผ่าตัด
ีระบบการระบายอากาศที่ผ่านเครื่องกรองแรงดันบวก
ระบบไฟฟ้ามีเครื่องสำรองไฟฟ้าอัตโนมัติที่ใช้ได้ทันทีที่ไฟฟ้าดับ
การแบ่งเขตห้องผ่าตัดต้องชัดเจน
พื้นเรียบไม่มีร่องหรือรอยต่อกันน้ำซึม
สีพื้นสามารถมองเห็นเข็มที่ตกได้
รอยต่อของผนังต้องโค้งเพื่อง่ายต่อการทำความสะอาด
ประตูควรเป็นประตูเลื่อน และมีช่องกระจกให้ดูภายในห้องผ่าตัด
ตู้ที่ใช้ในห้องผ่าตัดควรใช้ตู้ที่ทำด้วยสแตนเลทและกระจก
ขนาดห้องผ่าตัด
ห้องผ่าตัดมาตรฐานทั่วๆไปคือ 400 ตารางฟุต
ห้องผ่าตัดทางศัลยกรรมกระดูก ผ่าตัดสมอง ผ่าตัดหัวใจต้องมีขนาดอย่างน้อย 600 ตารางฟุต
ห้องตรวจด้วยวิธีการส่องกล้องควรมีขนาด 350 ตารางฟุต
ทีมผ่าตัด
ศัลยแพทย์ (Surgeon)
เป็นหัวหน้าทีมผ่าตัด ทำหน้าที่ในการตัดสินใจเกี่ยวกับการผ่าตัดตามชนิดของการผ่าตัด
พยาบาลห้องผ่าตัดทั่วไป (Holding area nurse)
ทำหน้าที่ในการจัดการเอกสารต่างๆที่เกี่ยวกับการผ่าตัด และจดบันทึกทางการพยาบาลระหว่างการผ่าตัด
วิสัญญีแพทย์ (Anesthesiologist)
ทำหน้าที่ให้ยา เฝ้าติดตามประเมิน และรายงานศัลยแพทย์เมื่อมีภาวะแทรกซ้อน
พยาบาลช่วยรอบนอกทั่วไปในห้องผ่าตัด (Circulating nurse)
ประสานงานกับทุกๆคนในทีม
ประเมินอาการผู้ที่รับการผ่าตัดในระยะก่อนผ่าตัด
วางแผนการพยาบาลระหว่างที่ได้รับการผ่าตัด
ช่วยทำความสะอาดผิวหนังบริเวณผ่าตัด
ดูแลเครื่องมือที่อยู่ในห้องผ่าตัดให้พร้อมใช้
เก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจพยาธิสภาพ
พยาบาลช่วยส่งเครื่องมือผ่าตัด (Scrub nurse)
จัดเตรียมเครื่องมือและส่งเครื่องมือ
ทำหน้าที่นับจำนวนผ้าซับโลหิต ใบมีด เครื่องมือ ก่อนและหลังผ่าตัดให้ถูกต้องครบถ้วน
พยาบาลที่มีความชำนาญพิเศษในการผ่าตัด (Specialty nurse)
ทำหน้าที่เป็นศัลยแพทย์ผู้ช่วยผ่าตัดมือหนึ่ง ห้ามทำการผ่าตัดเอง
การป้องกันการติดเชื้อของผู้ป่วย
สาเหตุของการติดเชื้อ
บุคคลในทีมผ่าตัด (surgical team)
การไหลเวียนของอากาศ (air circulation)
สิ่งแวดล้อมในตึกผ่าตัด(environment)
อุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ขณะทำผ่าตัด
ตัวผู้ที่รับการผ่าตัด/ผู้ป่วย
ปัจจัยที่มีผลทำให้เกิดการติดเชื้อที่แผลผ่าตัด
อายุของผู้ที่มารับการผ่าตัด
ชนิดของแบคทีเรีย
โรคประจำตัว
ประวัติการได้รับยากลุ่มสเตียรอยด์
ระยะเวลาในการผ่าตัด
ชนิดการผ่าตัด
การมีสายท่อระบายออกจากบาดแผล
ระยะเวลาในการอยู่โรงพยาบาลก่อนการผ่าตัด
ประเภทการผ่าตัด
แบ่งตามการสูญเสียเลือด
การผ่าตัดเล็ก (Minor surgery)
การผ่าตัดใหญ่ (Major surgery)
แบ่งตามวัตถุประสงค์การผ่าตัด
Palliative surgery
Diagnostic surgery
Restorative surgery
Cosmetic surgery
Curative surgery
แบ่งตามระยะเวลาความเร่งด่วน
การผ่าตัดที่ไม่เร่งด่วน (Elective surgery)
การผ่าตัดเร่งด่วน (Urgent surgery)
การผ่าตัดฉุกเฉิน (Emergency surgery)