Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นทีมีการเจ็บป่วยทางจิตเวช …
บทที่ 4
การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นทีมีการเจ็บป่วยทางจิตเวช โรคซนสมาธิสั้น
ความหมาย ลักษณะอาการและอาการแสดงโรคซนสมาธิสัน
1.1 ความหมายโรคซนสมาธิสัน
โรคซนสมาธิสัน (attention-deficit/ hyperactivity disorder: ADHD) จะเริมแสดงอาการตังแต่วัย เด็ก โดยมีลักษณะการไม่ใส่ใจขาดสมาธิ (inattention) ขาดความต่อเนืองในการจดจ่ออยู่กับงานและไม่สามารถให้ ความสนใจเรืองใดได้นาน และ/หรือ มีอาการซนไม่อยู่นิง (hyperactivity) หุนหันพลันแล่น (impulsivity) ไม่มีความ เป็นระเบียบ
อาการซนไม่อยู่นิง หมายถึง การทีมีกิจกรมการเคลือนไหวมากกว่า ปกติ เช่น การทีเด็กวิงเล่นไปทัวใน สถานการณ์ทีไม่เหมาะสม
อาการหุนหันพลันแล่นหมายถึงการกระทําทีรีบร้อนทีเกิดขึนอย่าง กะทันหัน โดยขาดการคิดไตร่ตรอง, ขาดความสุขุมรอบคอบ และมีโอกาสสูง ทีจะเปนอันตรายต่อตนเอง เช่น การวิงพรวดพราดไปในถนนโดยไม่เหลียว ซ้าย แลขวาดูว่ามีรถกําลังวิงมาหรือไม่อาการหุนหันพล้นแล่นนีอาจแสดงถึง ความต้องการได้รับรางวัลเดียวนันทันทีเลย
1.2 ลักษณะอาการและอาการแสดงโรคซนสมาธิสัน
อาการขาดสมาธิมีตังแต่ 6 อาการขึนไป แต่สําหรับวัยรุ่นตอน ปลายและผู้ใหญ่ (อายุตังแต่ 17 ปีขึ้น ไป) ต้องมีอาการอย่างน้อย 5 อาการขึ้น
มักจะไม่สามารถจดจํารายละเอียด หรือขาดความรอบคอบจึง ทําผิดพลาดในเรืองเกียวกับการ เรียน การทํางาน หรือการทํากิจกรรมอื่นๆ
มักจะไม่มีสมาธิในการทํางานหรือการเล่น
มักจะดูเหมือนไม่สนใจฟงเวลาทีพูดด้วยโดยตรง
มักจะไม่ปฏิบัติตามคําสังและไม่สามารถทํางานเกียวกับการ เรียน งานบ้าน หรือทํางานต่างๆ ตาม หน้าทีให้แล้วเสร็จตามกําหนดได้
มักมีปญหาในการวางแผนเกียวกับงานหรือการทํากิจกรรม ต่างๆ
มักจะหลีกเลียง ไม่ชอบ หรือลังเลทีจะทํางานทีต้องใช้ความคิด
มักจะทําของทีจําเปนสําหรับการเรียนหรือการทํางานหายอยู่ บ่อยๆ
มักจะถูกเบียงเบนความสนใจจากสิงเร้าภายนอกได้ง่าย ( สําหรับวัยรุ่นตอนปลายและวัยผู้ใหญ่
มักจะลืมบ่อยๆ
มีอาการซน ไม่อยู่นิง และมีอาการหุนหันพลันแล่น ตังแต่ 6 อาการขึ้นไปสําหรับวัยรุ่นตอนปลายและผู้ใหญ่(อายุตังแต่17ปขึ้นไป)ต้อง มีอาการอย่างน้อย 5 อาการขึ้นไปซึงอาการดังกล่าวมีเป็นเวลานานติดต่อกัน อย่างน้อย 6 เดือน
เมือนังอยู่กับทีมักจะมีอาการกระวนกระวาย กระสับกระส่าย หรือรู้สึกทรมาน นังขยุกขยิกยุกยิก ตลอดเวลา ใช้มือหรือเท้าเคาะโน่นเคาะนี้
มักจะลุกจากทีนั่งบ่อยๆ ในสถานการณ์ทีควรต้องนังอยู่กับที่
มักจะวิงไปทัวหรือปนปายสิงต่างๆ ในสถานการณ์ทีไม่เหมาะ สม ในผู้ใหญ่หรือวัยรุ่นอาจเปนเพียง ความรู้สึกกระวนกระวายใจ
มักจะไม่สามารถเล่นหรือเข้าร่วมในกิจกรรมสันทนาการได้อย่าง เงียบๆ
มักจะยุ่งวุ่นวายเสมือนหนึ่งขับเคลือนด้วยเครื่องยนต์อยู่ตลอด เวลา, ไม่สามารถอยู่หรือรู้สึกอึดอัด ใจอย่างมาก
มักจะพูดมาก พูดไม่หยุด
มักจะโพล่งตอบคําถามก่อนทีจะถามคําถามจบ
มักจะมีปัญหาในการรอคอยให้ถึงตาตนเอง
มักจะขัดจังหวะหรือสอดแทรกผู้อื่น สําหรับวัยรุ่นตอนปลาย และวัยผู้ใหญ่อาจจะเปนลักษณะการ ก้าวก่าย
สาเหตุ การบําบัดรักษาโรคซนสมาธิสัน
2.1 สาเหตุของโรคซนสมาธิสัน ยังไม่ทราบแน่ชัด แต่มีปัจจัยที เกียวข้องหลายปัจจัย
1) ปจจัยทางชีวภาพ
พันธุกรรมพบว่าฝาแฝดไข่ใบเดียวกัน(monozygotictwins) ถ้าแฝดคนหนึงปวยด้วยโรคซน สมาธิสันโอกาสทีแฝดอีกคนหนึงจะปวยด้วย โรคนีมีสูง
กายวิภาค จากการตรวจสมองด้วยเครืองตรวจ คลืนแม่เหล็กไฟฟา(magneticresonance imaging:MR)พบความผิดปกติ ของพัฒนาการทางสมองในส่วนทีเกียวข้องกับกระบวนการทีควบคุมเรือง ความสนใจ (attention) และสิงเร้า (arousal), มีความผิดปกติของการ สือสารระหว่างสมองซีกซ้ายและสมองซีกขวาและการยับยังการเปลียนแปลง ในเรืองการให้ความสนใจ(attention)และการเคลือนไหว(motoractivity)มี ตา ทําให้เกิด
สรีรวิทยาของระบบประสาท จากการตรวจคลื่นสมอง (electroencephalogram: EEG) พบว่า มี การเพิมขึนของ beta bandหรือมี การลดลงของ delta band ซึ่งทําให้เด็กถูกกระตุ้นจากสิงเร้าได้ง่ายขึ้น และ จาก การตรวจด้วย positron emission tomography (PET)
สารเคมีของระบบประสาท มีการหมุนเวียนกันของ dopamine และ norepinephrine มีระดับ ตากว่าปกติซึงการทํางานของ dopamine จะ ช่วยในการควบคุมพฤติกรรมการเคลือนไหวและแรงจูงใจในการเรียนรู้การที dopamine อยู่ในระดับตานันมาจากการกระตุ้นให้มีการปล่อย
catecholamine เพิ่มมากขึ้น รวมทังมีการสกัดกันการดูดกลับ catecholamine
โรคความผิดปกติของระบบประสาท เช่น สมองอักเสบ (encephalitis), มีอาการชัก
2) ปจจัยก่อนคลอดขณะคลอด หลังคลอดล้วนแล้วแต่เปนสาเหตุ ทําให้เด็กมีอาการของ ADHD เช่น การทีหญิงตังครรภ์ 3เดือนแรก (first trimester) มีการติดเชือ มีการเสพสุรา ยาเสพติด สูบบุหรี, การคลอดก่อน กําหนด (prematurity), การทีเด็กขาด oxygen ระหว่างคลอด
3) ปจจัยทางจิตสังคม การทีเด็กไม่ได้รับความอบอุ่นเปนระยะเวลา นานๆ (prolonged emotional deprivation), เหตุการณ์ทีทําให้เด็กรู้สึก เครียด (stressfulpsychicevents),การทีครอบครัวของเด็กขาดความสมดุล ในครอบครัวพ่อแม่มีปญหาขัดแย้งกันอยู่บ่อยๆหรือพ่อแม่มีความเครียดสูง, การทีผู้ทีเลียงดูเด็กขาดทักษะในการ จัดการพฤติกรรมเด็กทีเปนปญหา
4) ปจจัยทางสิงแวดล้อม การศึกษาวิจัยร้อยละ 5 พบว่าการได้รับ การสูดหายใจอากาศทีมีมลภาวะเปนพิษ,การรับประทานสารตะกัวจากส่วน ของพวกสีผสมอาหาร วัสดุทีใช้ในการแต่งกลินแต่งสีหรือทีใช้ในการถนอม อาหารอาจเปนสาเหตุทีทําให้เกิดอาการของโรคADHD
2.2 การบําบัดรักษาโรคซนสมาธิสัน
การรักษาทางยา
ยาทีได้รับการยอมรับในการนํามาใช้รักษาโรคซนสมาธิสัน ได้แก่ stimulants และ alpha adrenergic agonists
stimulants เป็นยาอันดับแรกทีเลือกใช้ในการรักษาโรคซนสมาธิ
สั้น
• ยา methylpheidate (MPH) ซึงยากลุ่มนีออกฤทธิโดยการ เพิมสารสือประสาทโดปามีน (dopamine) และ นอร์อิพิเนฟฟน (norepinephrine) ในระบบประสาทส่วนกลาง ซึงยาจะช่วยลดอาการซน สมาธิ สัน ยา methylpheidate ได้แก่ ritalin เปนยาทีออกฤทธิ สันประมาณ 3-5 ชัวโมง, ยา concerta เปนยาทีออกฤทธิยาว ประมาณ 10-12 ชัวโมง ผลข้างเคียงทีพบบ่อย ได้แก่ เบืออาหาร นาหนักตัวลด ไม่นอน ปวดศีรษะ และปวดท้อง เปนต้น ผลข้างเคียงทีอาจเกิดขึนได้แก่ อารมณ์เรียบ เฉย หงุดหงิด อารมณ์เปลียนแปลง กระตุก และ rebound effect คือ มีอาการ ไม่นิง หงุดหงิด และไม่ร่วมมือ หรือมีอาการกลับซา ของการซนสมาธิสันเมือมี การหยุดยา
•ยาatomoxetine(strattera)เปนยาทีใช้ได้ผลดีในการรักษา โรคซนสมาธิสันโดยไม่เกิดความเสียงในการใช้ยาทีผิดหรือพึงพาและเปนยา ทีใช้เมือเด็กไม่ตอบสนองต่อยา stimulants ผลข้างเคียงของยาทีพบ บ่อย ได้แก่ คลืนไส้ เบืออาหาร นอนไม่หลับ ปวดศีรษะ ปวดท้อง และมีกระตุก นอกจากนียามีความเสียงในการคิดฆ่า ตัวตาย การทํางานของตับล้มเหลว เฉียบพลัน และหัวใจล้มเหลวได้
การรักษาโดยการปรับพฤติกรรมและการรักษาทางจิตสังคม
การฝึกอบรมพ่อแม่ในการดูแลเด็ก ADHD (parent management training) เพือให้สามารถ เลียงดูเด็ก ADHD ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
• การให้ความรู้แก่พ่อแม่เกียวกับโรคและวิธีการบําบัดรักษา ADHD เพือพ่อแม่จะได้มีทัศนคติ ทีดีต่อเด็ก
• สอนเทคนิคต่างๆ ในการปรับพฤติกรรมทีไม่พึงประสงค์ของ เด็ก โดยทีไม่ไปลดความรู้สึก
• แนะนําพ่อแม่ให้จัดทําตารางกิจวัตรประจําวันของเด็ก เนืองจากเด็ก ADHD มักจะลืมและไม่ ใส่ใจในเรืองต่างๆ
• ให้คําแนะนําพ่อแม่ในการจัดสิงแวดล้อมให้เด็กโดยลดสิงเร้า ทีจะมากระตุ้นหรือเบียงเบน ความสนใจของเด็กให้น้อยทีสุด
• ให้คําแนะนําพ่อแม่ในการออกคําสังกับเด็กอย่างสันๆ และ ควรให้เด็กทวนซา เวลาพูดกับเด็ก
• ให้คําแนะนําพ่อแม่และบุคคลอืนในบ้านในการพยายาม ควบคุมอารมณ์ อย่าตวาดตําหนิเด็ก หรือลงโทษอย่างรุนแรงเมือเด็กทําผิด ควรมีการตังกฎเกณฑ์ไว้ล่วงหน้าว่าเมือเด็กทําผิดจะมีการลงโทษอย่างไรบ้าง ด้วยวิธีการลงโทษทีเหมาะสม
• ให้คําแนะนําพ่อแม่เรืองไม่เปรียบเทียบเด็กกับพีน้องหรือเด็กอืนเพราะจะ เปนการทําลาย ความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเองของเด็ก
• ให้คําแนะนําให้คุณครูบันทึกข้อมูลเกียวกับตัวเด็กขณะอยู่ที โรงเรียนทังในเรืองผลการเรียน พฤติกรรมของเด็กขณะอยู่ในห้องเรียน สัมพันธภาพระหว่างเด็กกับเพือนๆ
• ให้คําแนะนําคุณครูเกียวกับโรค ADHD เพื่อจะได้มีความเข้าใจทีถูกต้อง มี ทัศนคติทีดี เกียวกับตัวเด็ก โดยเฉพาะพฤติกรรมต่างๆ ทีเป็นปัญหาว่าเป็น ความผิดปกติมิใช่เรื่องของความรู้สึกชอบ/ไม่ชอบคุณครู
• ให้คําแนะนําคุณครูเกียวกับเทคนิคต่างๆ ทีใช้ในการปรับ พฤติกรรมเด็ก และการจัด สภาพแวดล้อมในห้องเรียน
1) การจัดให้เด็กนังหน้าชันหรือนังใกล้คุณครูมากทีสุด
2) การจัดให้เด็กนังอยู่ห่ามกลางเด็กทีเรียบร้อยตังใจเรียน
3) การจัดให้เด็กนังกลางห้องหรือไกลจากประตูหน้าต่าง
4) ควรตรวจสมุดงานของเด็กอย่างสมาเสมอ เพือให้แน่ใจว่า เด็กสามารถจดงานได้ครบถ้วน
5) คุณครูควรให้เวลาทีใช้ในการสอบสําหรับเด็กทีเปน ADHD นาน กว่าปกติ
6) คุณครูควรจัดกิจกรรมอืนๆ ทีสร้างสรรค์เมือเด็กไม่มี สมาธิในการเรียนอีกต่อไป
7) คุณครูควรเขียนการบ้านหรืองานทีจะให้เด็กทําในชัน เรียน ให้ชัดเจนบนกระดานดํา
8) คุณครูควรหลีกเลียงการสังหลายงานพร้อมกัน ควรให้ เด็กทํางานให้เสร็จทีละอย่างก่อน
9) หากเด็กมีสมาธิสันมากควรลดเวลางานให้สันลง
10) เมือเด็กทําความผิด ควรใช้การตัดคะแนน งดเวลาพัก ทําเวรหรือให้เด็กอยู่ต่อหลังเลิก
11) คุณครูควรค้นหาข้อดี/ลักษณะเด่นของเด็กแล้ว สนับสนุนให้เด็กได้แสดงออกถึง ความสามารถของเขา
12) ถ้าเด็กมีความผิดปกติทางการเรียนรู้ (learning disorder) ร่วมด้วย เด็กต้องได้รับการ ช่วยเหลือด้านการเรียนเปนพิเศษ
การให้ความช่วยเหลือโดยมุ่งเน้นทีตัวเด็กเป็นสําคัญ (child focused intervention)
• การฝกทักษะทางสังคม(socialskilltraining)ให้เด็กสังเกต อารมณ์ความรู้สึกของบุคคลอืน รู้จักรอคอยรับฟงเอาใจเขามาใส่ใจเรารู้ว่า อะไรเปนพฤติกรรมทีเหมาะสมและไม่เหมาะสมทีควรจะแสดงออกเมืออยู่ใน
• การช่วยเหลือเป็นพิเศษในเด็กทีมีปัญหาทางด้านการเรียน เช่น การเรียนซ่อมเสริม หรือเข้า ร่วมในโครงการการศึกษาพิเศษสําหรับเด็กที มีปัญหาทางพฤติกรรมและการเรียน ครูและผู้ปกครองสามารถฝกเด็กให้ รู้จัก จัดระเบียบการเรียน การทําตามคําสัง
• การบําบัดทางจิตเป็นรายบุคคลในเด็กทีมีปัญหาทางอารมณ์ ร่วมด้วย เช่น มองตัวเองในแง่ ลบ หรือมีความวิตกกังวล
การพยาบาลโรคซนสมาธิสัน
1) การประเมินสภาพ (assessment)
การประเมินเมื่อเด็กอยู่ที่โรงเรียน
• ควรมีการประเมินว่าเด็กมีพฤติกรรมอย่างไรบ้างขณะอยู่ใน ห้องเรียน
• ลักษณะของการมีปฏิสัมพันธ์ต่อเพือน
• ผลการเรียนเป็นอย่างไร
• มีพฤติกรมอะไรบ้างทีทังพ่อแม่ คุณครูและ/หรือตัวเด็กเองมอง ว่าเป็นปัญหา
• ผลกระทบทีเกิดจากพฤติกรรมต่างๆ
• ความรู้ความเข้าใจของคุณครูเกียวกับโรค
การประเมินทีโรงพยาบาล กระทําโดยการสังเกต สัมภาษณ์ สันๆ
• การจําแนกและการสํารวจเกี่ยวกับสิ่งที่เป็นปัญหาในปัจจุบัน
• ประเมินตัวเด็กว่ามีพัฒนาการทุกด้านเหมาะสมตามวัยหรือไม่
• ประเมินระยะเวลาทีเด็กเริ่มมีอาการของโรค รูปแบบของ อาการต่างๆ
• ประเมินว่ามีปัจจัยใดทีทําให้เด็กมีอาการดีขึ้นหรือแย่ลง
• ประเมินการรักษาทีเด็กได้รับมาก่อนหน้านี้
• ประเมินว่าอะไรทีทําให้พ่อแม่พาเด็กมารับการรักษา
• ประเมินประวัติอดีตในเรื่องเกี่ยวกับอาการของคุณแม่ขณะตั้ง ครรภ์ การเจ็บป่วยในวัยเด็ก
• การประเมินเกียวกับรูปแบบการรับประทานอาหาร การ นอน และการทํากิจกรรมต่างๆ
• ประเมินรูปแบบการเลี้ยง ดูของพ่อแม่ (parenting style)
• ความมันคงของสมาชิกในครอบครัว (stability of membership) ใน
ทุกๆด้าน
• เหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตของเด็ก เช่น การหย่าร้าง ของพ่อแม่ การเสียชีวิตของบุคคล ในครอบครัว การย้ายที่อยู่อาศัย
• ประเมินว่าเด็กมีภาวะโรคร่วมหรือไม่
2) การวินิจฉัยทางการพยาบาล (nursing diagnosis)
ตัวอย่างข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสียงต่อการได้รับบาดเจ็บ
ไม่สามารถทําตามบทบาทหน้าทีของตนได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
มีความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเองตาเปนระยะเวลานาน
การดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายบกพร่อง
แบบแผนการนอนไม่เหมาะสม
ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมบกพร่อง
ปฏิบัติตัวไม่เหมาะสมกับบทบาทของตน
วิธีการเผชิญปัญหาของครอบครัวไม่มีประสิทธิภาพ
3) การวางแผนและการปฏิบัติการพยาบาล (planning and implementation)
ตัวอย่างของเป้าหมายทางการพยาบาล
เป้าหมายระยะสั้น เช่น จํานวนครังทีเด็กจะถูกไล่ออกจก ห้องเรียนลดลงภายในระยะเวลา 2 สัปดาห์
การกําหนดเป้าหมาย ระยะยาว ซึงจะวัดผลได้ยากกว่าและยากที่จะ บรรลุเป้าหมาย
การปฏิบัติการพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพเพือการบําบัดกับพ่อแม่ เด็ก และคุณครู เพือให้เกิดความไว้วางใจและ ประสานความร่วมมืออันดีระหว่างโรงพยาบาล บ้าน และโรงเรียนในการแก้ไขปญหาของเด็ก
ให้ความรู้และคําแนะนําแก่พ่อ แม่ ผู้ปกครอง และคุณครูเกียวกับโรค การดูแลเด็ก การปฏิบัติ ต่อเด็ก การวาง ระเบียบวินัยให้แก่เด็ก แผนการบําบัดรักษา รวมถึงยา การออกฤทธิของยา และอาการข้างเคียงทีอาจ เกิดขึน
กําหนดพฤติกรรมของเด็กทีคาดหวังร่วมกันระหว่างพ่อแม่ผู้ ปกครอง คุณครู ทีมสหสาขา วิชาชีพ และสือสารกับเด็ก พ่อแม่ ผู้ปกครอง คุณครูให้ชัดเจนเกียวกับพฤติกรรมทีคาดหวังทีได้กําหนดไว้
ดูแลให้เด็กได้รับการรักษาด้วยยาร่วมกับการปรับพฤติกรรม และการรักษา ทางจิตสังคม
ติดตามและประเมินผลการตอบสนองต่อการรักษาด้วยยา การปรับพฤติกรรม และการรักษา ทางจิตสังคม อาการข้างเคียงอืนๆ
การประเมินผล (evaluation) จะต้องมีการประเมินผลที่เกิดขึ้น
การพยาบาลเป็นไปตามวัตถุประสงค์ทีได้กําหนดไว้หรือไม่
พฤติกรรมต่างๆทีเป็นปัญหาลดลงหรือไม่ ทังในแง่ความ รุนแรง และความถี
เด็กสามารถควบคุมตนเองได้ดีเพียงใด
เด็กมีคุณภาพชีวิตดีขึนหรือไม่
พ่อแม่ ผู้ปกครอง คุณครูสามารถให้การเลียงดูเด็กและปรับ พฤติกรรมเด็กได้อย่างมี ประสิทธิภาพเพียงใด
สรุป
โรคซนสมาธิสัน พบมากในวัยเด็กตอนต้นโดยทีอาการจะปรากฏก่อน อายุ 12 ปซึงอาการต่างๆ มีลักษณะเปนรูปแบบทีถาวรได้แก่การทีไม่ใส่ใจ ขาดสมาธิ และ/หรือมีอาการซนไม่อยู่นิงหุนหันพลันแล่นการรักษาจะได้ผลดีมาก หากใช้ยา psychostimulants ร่วมกับการบําบัดทางจิตสังคม แต่หาก ไม่ได้รับการรักษาทีถูกต้องตังแต่เล็กจะมีผลแทรกซ้อนอืนๆทีมีผลกระทบใน แง่ลบต่อตัวเด็กมากมาย เช่น การมีความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเองตา เด็กไม่ประสบความสําเร็จเท่าทีศักยภาพของเด็กจะทําให้เกิดได้การติดสารเสพติต การขาดทักษะทางสังคม
น.ส.เปมิกา เพิ่มชีวา รหัส180101126