Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายแรงงานสัมพันธ์และการประกันสังคม - Coggle Diagram
กฎหมายแรงงานสัมพันธ์และการประกันสังคม
กฎหมายแรงงานสัมพันธ์
เป็นกฎหมายที่ใช้บังคับในกิจการทั่วไปที่มีการจ้างแรงงานที่กำหนดแนวทางปฎิบัติต่อกันระหว่างฝ่ายนายจ้างกับฝ่ายลูกจ้าง ให้มีความเข้าใจอันดีต่อกัน
การแจ้งข้อเรียกร้องเกี่ยวกับสภาพการจ้าง
วิธีการแจ้งข้อเรียกร้อง
1.กรณีนายจ้างเป็นฝ่ายแจ้งข้อเรียกร้อง
นายจ้างต้องทำเป็นหนังสือหรือทำเป็นประกาศแจ้งต่อลูกจ้าง
ทุกคน โดยระบุชื่อตนเอง หรือตั้งผู้แทนเข้าเจรจาแทนก็ได้ ถ้านายจ้างตั้งตัวแทนเข้าเจรจาผู้แทนของนายจ้างต้องเป็นกรรมการหรือผู้ถือหุ้น
2.กรณีลูกจ้างเป็นฝ่ายแจ้งข้อเรียกร้อง ข้อเรียกร้องนั้นต้องมีรายชื่อและลายมือชื่อของลูกจ้างซึ่งเกี่ยวข้องกับการเรียกร้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 15 ของลูกจ้างทั้งหมด
ผลการตกลงเกี่ยวกับข้อเรียกร้อง
เมื่อฝ่ายหนึ่งแจ้งข้อเรียกร้องต่ออีกฝ่ายหนึ่งแล้ว ฝ่ายที่รับข้อเรียกร้องต้องแจ้งชื่อตนเองหรือผู้แทนเป็นหนังสือให้อีกฝ่ายที่แจ้งข้อเรียกร้องทราบโดยมิชักช้า และให้ทั้งสองฝ่ายเจรจากันภายใน 3 วัน นับแต่วันที่ได้รับข้อเรียกร้อง
ฝ่ายที่แจ้งข้อเรียกร้องต้องมีรายชื่อผู้เข้าร่วมเจรจา พร้อมข้อเรียกร้อง หรือแจ้งภายหลังการเจรจาก็ได้ แต่ฝ่ายที่รับข้อเรียกร้องต้องรีบแจ้งรายชื่อผู้ร่วมเจรจาเมื่อได้รับข้อเรียกร้องโดยผู้ร่วมเจรจามีฝ่ายละไม่เกิน 7 คน
การเจรจา ทั้งสองฝ่ายสามารถตกลงกันได้ เกี่ยวกับข้อเรียกร้องหรือเกี่ยวกับการทำงานข้อตกลง หรือการแก้ไขเพิ่มเติมข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง แล้วทำข้อตกลงนั้นเป็นหนังสือ ลงลายมือชื่อนายจ้าง
ผลแห่งข้อตกลง เกี่ยวกับสภาพการจ้าง ให้มีผลผูกพันธ์นายจ้างและลูกจ้างซึ่งลงลายมื่อชื่อในข้อเรียกร้องนั้น ตลอดจนลูกจ้าง
วัตถุประสงค์ของกฎหมายแรงงานสัมพันธ์
1.ราชการส่วนกลาง
คือ กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานราชการอื่น ซึ่งเทียบเท่า
2. ราชการส่วนภูมิภาค
คือ จังหวัด อำเภอ
3.ราชการส่วนท้องถิ่น
คือ องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา
4.กิจการรัฐวิสาหกิจ
ตามกฎหมายว่าด้วยการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์
5.กิจการอื่นตามที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกา
เช่น การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย ธนาคารแห่งประเทศไทย
องค์กรเกี่ยวข้องกับการระงับข้อพิพาท
คณะกรรมการลูกจ้าง เป็นกรณี่ที่สถานประกอบกิจการมีลูกจ้างจำนวนมากกว่า 50 คนขึ้น
หน้าที่โดยทั่วไปของคณะกรรมการลูกจ้าง
1.จัดสวัสดิการแก่ลูกจ้าง
2.ปรึกษาหารือเพื่อกำหนดข้อบังคับในการทำงาน
3.พิจารณาคำร้องทุกข์ของลูกจ้าง
4.หาทางปรองดองและระงับข้อขัดแย้งในสถานประกอบกิจการ
5.กรณีคณะกรรมการลูกจ้างเห็นว่านายจ้างจะทำให้ลูกจ้างไม่ได้รับความเป็นธรรม คณะกรรมการลูกจ้างมีสิทธิร้องขอให้ศาลแรงงานพิจารณาวินิจฉัยได้
ขั้นตอนการระงับข้อพิพาทแรงงาน
การเจรจา
เริ่มต้นด้วยการเสนอข้อเรียกร้องก่อน ด้วยการทำเป็นหนังสือแจ้งชื่อตนเองหรือผู้แทน แล้วเจรจากันภายใน 3 วัน
การไกล่เกลี่ย
เป็นวิธีระงับการเรียกให้นายจ้างและลูกจ้างมาประชุมกัน โดยเจ้าพนักงานของรัฐ คือ พนักงงานประนอมข้อพิพาทแรงงาน เพื่อทั้งสองฝ่ายเข้าใจ และตกลงกันได้
การชี้ขาดข้อพิพาทแรงงาน
ข้อพิพาทที่ตกลงกันไม่ได้ หากเป็นกิจการธรรมดา คู่กรณีคือทั้งสองฝ่ายนายจ้างและฝ่ายลูกจ้างอาจตัดสินใจร่วมกัน
การใช้มาตรการทางแรงงานสัมพันธ์
หลังจากผ่านขั้นตอนที่ข้างต้นแล้ว ยังตกลงกันไม่ได้ และเมื่อฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งใช้มาตราการทางแรงงานสัมพันธ์อัน