Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีการเจ็บป่วยทางจิตเวช
บุคคลที่มีกลุ่มโรค…
การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีการเจ็บป่วยทางจิตเวช
บุคคลที่มีกลุ่มโรคจากเหตุสะเทือนขวัญและความเครียด
กลุ่มโรคจากเหตุสะเทือนขวัญและความเครียด (trauma-and stressor - related disorder) เป็นกลุ่มโรคพบที่ได้ภายหลังการประสบเหตุการณ์ในชีวิต
ลักษณะอาการและอาการแสดง
- ภาวะการปรับตัวผิดปกติ (adjustment disorder) เป็นการตอบสนองภายใน 3 เดือนนับเริ่มต้นความกดดันที่เกิดขึ้นในชีวิตที่พบได้ในชีวิตประจำวัน หรือความกดดันที่เกิดขึ้นในชีวิตที่เกิดตามพัฒนาการ ซึ่งอาจมีด้านเดียวหรือหลายด้านและอาจเกิดขึ้นครั้งเดียวแล้วจบ เกิดขึ้นซ้ำๆ หรือเกิดขึ้นต่อเนื่องก็ได้ คงอยู่ไม่นานเกิน 6 เดือน
- โรคเครียดแบบเฉียบพลัน (acute stress disorder: ASD) เป็นโรคที่มีอาการและอาการแสดงตั้งแต่ 3 วันขึ้นไปจนถึง 1 เดือนหลังเผชิญหรือถูกคุกคามจากเหตุการณ์สะเทือนขวัญ
2) มีความนึกคิดและอารมณ์เปลี่ยนไปในทางลบหลังเกิดเหตุการณ์สะเทือนขวัญที่เผชิญหรือถูกคุกคาม (negative mood and dissociation) ตั้งแต่ 2 ข้อต่อไปนี้ขึ้นไป
- ไม่สามารถระลึกถึงส่วนสำคัญของเหตุการณ์สะเทือนขวัญนั้น
- มีความเชื่อและความคาดหวังกับตัวเอง คนอื่น และโลกภายนอกในแง่ลบอย่างเกินจริงตลอด
- มีความคิดเกี่ยวกับสาเหตุและผลกระทบของเหตุการณ์สะเทือนขวัญนั้นบิดเบือนไปจากความเป็นจริงอย่างต่อเนื่อง ซึ่งส่งผลให้โทษตัวเองหรือผู้อื่น
- มีสภาวะอารมณ์ทางลบอย่างต่อเนื่อง เช่น กลัว โกรธ อาย รู้ผิด
- ความสนใจหรือมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ลดลงอย่างมาก
-
- ไม่สามารถรู้สึกถึงอารมณ์ทางบวกได้ เช่น ไม่รู้สึกสุข, พอใจ, รัก
-
1) มีอาการในรูปแบบต่าง ๆเกี่ยวกับเหตุการณ์สะเทือนขวัญที่เผชิญหรือถูกคุกคามผุดขึ้นมาซ้ำ ๆ (intrusion) ตั้งแต่ 1 ข้อต่อไปนี้ขึ้นไป
- ความทรงจำเกี่ยวกับเหตุการณ์สะเทือนขวัญที่เผชิญหรือถูกคุกคามผุดขึ้นมาซ้ำ ๆโดยไม่ตั้งใจและก่อให้เกิดความทุกข์กรณีเป็นเด็กอาจมีการเล่นซ้ำ ๆในเรื่องเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เผชิญหรือถูกคุกคามนั้น
- มีการฝันถึงเนื้อหาหรืออารมณ์ที่มีความเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์สะเทือนขวัญที่เผชิญหรือถูกคุกคาม กรณีเป็นเด็กอาจมีการฝันร้ายโดยจำเนื้อหาไม่ได้
- มีการกระทำหรือมีความรู้สึกเหมือนกับว่าเหตุการณ์สะเทือนขวัญที่เผชิญหรือถูกคุกคามนั้นกำลังเกิดขึ้นอีก (flashback) อาการเป็นได้ตั้งแต่ระดับน้อยจนถึงรุนแรงมาก เช่น หลุดโลกจนไม่สามารถรับรู้ถึงสิ่งรอบตัวในขณะนั้น กรณีเป็นเด็กอาจมีการแสดงบทบาทเรื่องที่เกี่ยวกับเหตุการณ์นั้นออกมาในการเล่น
- มีความทุกข์ใจอย่างหนักและยาวนานในการตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เป็นสัญลักษณ์หรือคล้ายเหตุการณ์สะเทือนขวัญที่เผชิญหรือถูกคุกคามนั้น
- มีปฏิกิริยาการตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เป็นสัญลักษณ์หรือคล้ายเหตุการณ์สะเทือนขวัญที่เผชิญหรือถูกคุกคามนั้นทั้งภายในและภายนอกทางร่างกายที่เกิดขึ้นชัดเจน
-
- โรคเครียดหลังผ่านเหตุการณ์สะเทือนขวัญ (post-traumatic stress disorder: PDST) เป็นโรคที่มีอาการและอาการแสดงตั้งแต่ 3 วันขึ้นไปจนถึง 1 เดือนหลังเผชิญหรือถูกคุกคามจากเหตุการณ์สะเทือนขวัญ
2) มีความนึกคิดและอารมณ์เปลี่ยนไปในทางลบหลังเกิดเหตุการณ์สะเทือนขวัญที่เผชิญหรือถูกคุกคาม (negative mood and dissociation) ตั้งแต่ 2 ข้อต่อไปนี้ขึ้นไป
- ไม่สามารถระลึกถึงส่วนสำคัญของเหตุการณ์สะเทือนขวัญนั้น
- มีความเชื่อและความคาดหวังกับตัวเอง คนอื่น และโลกภายนอกในแง่ลบอย่างเกินจริงตลอด
- มีความคิดเกี่ยวกับสาเหตุและผลกระทบของเหตุการณ์สะเทือนขวัญนั้นบิดเบือนไปจากความเป็นจริงอย่างต่อเนื่อง ซึ่งส่งผลให้โทษตัวเองหรือผู้อื่น
- มีสภาวะอารมณ์ทางลบอย่างต่อเนื่อง เช่น กลัว โกรธ อาย รู้ผิด
- ความสนใจหรือมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ลดลงอย่างมาก
-
- ไม่สามารถรู้สึกถึงอารมณ์ทางบวกได้ เช่น ไม่รู้สึกสุข, พอใจ, รัก
-
1) มีอาการในรูปแบบต่าง ๆเกี่ยวกับเหตุการณ์สะเทือนขวัญที่เผชิญหรือถูกคุกคามผุดขึ้นมาซ้ำๆ (intrusion) ตั้งแต่ 1 ข้อต่อไปนี้ขึ้นไป
- ความทรงจำเกี่ยวกับเหตุการณ์สะเทือนขวัญที่เผชิญหรือถูกคุกคามผุดขึ้นมาซ้ำ ๆโดยไม่ตั้งใจและก่อให้เกิดความทุกข์กรณีเป็นเด็กอาจมีการเล่นซ้ำ ๆในเรื่องเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เผชิญหรือถูกคุกคามนั้น
- มีการฝันถึงเนื้อหาหรืออารมณ์ที่มีความเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์สะเทือนขวัญที่เผชิญหรือถูกคุกคาม กรณีเป็นเด็กอาจมีการฝันร้ายโดยจำเนื้อหาไม่ได้
- มีการกระทำหรือมีความรู้สึกเหมือนกับว่าเหตุการณ์สะเทือนขวัญที่เผชิญหรือถูกคุกคามนั้น กำลังเกิดขึ้นอีก (flashback) อาการเป็นได้ตั้งแต่ระดับน้อยจนถึงรุนแรงมาก เช่น หลุดโลกจนไม่สามารถรับรู้ถึงสิ่งรอบตัวในขณะนั้น กรณีเป็นเด็กอาจมีการแสดงบทบาทเรื่องที่เกี่ยวกับเหตุการณ์นั้นออกมาในการเล่น
- มีความทุกข์ใจอย่างหนักและยาวนานในการตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เป็นสัญลักษณ์หรือคล้ายเหตุการณ์สะเทือนขวัญที่เผชิญหรือถูกคุกคามนั้น
- มีปฏิกิริยาการตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เป็นสัญลักษณ์หรือคล้ายเหตุการณ์สะเทือนขวัญที่เผชิญหรือถูกคุกคามนั้นทั้งภายในและภายนอกทางร่างกายที่เกิดขึ้นชัดเจน
-
สาเหตุ
- โรคเครียดแบบเฉียบพลัน (acute stress disorder: ASD)
1) ปัจจัยทางด้านชีวภาพ
- มีการใช้สารเสพติดหรือความผิดปกติด้านระบบประสาทอัตโนมัติที่ไวเกินไป
- มีการหลั่ง glucocorticoid ออกมามากจากการทำลายเซลล์บริเวณ hippocampus receptor ของ glucocorticoid
- มีความผิดปกติของสารสื่อประสาท
2) ปัจจัยทางจิตสังคม
-
- ทฤษฎีทางความคิดและพฤติกรรม
- โรคเครียดหลังผ่านเหตุการณ์สะเทือนขวัญ (post-traumatic stress disorder: PDST) มีสาเหตุเหมือนผู้ป่วยโรคเครียดแบบเฉียบพลันดังกล่าวไปแล้วข้างต้น
- ภาวะการปรับตัวผิดปกติ (adjustment disorder)
-
2) ปัจจัยทางจิตสังคม
- ความเปราะบางทางจิตใจของบุคคล
- ความสัมพันธ์ร่วมกันของลักษณะภาวะความกดดันที่เกิดขึ้นในชีวิตทั้งที่พบได้ในชีวิตประจำวันและที่เกิดขึ้นตามพัฒนาการกับสภาวะแวดล้อมของผู้ป่วยในขณะนั้น
- ผู้ที่มีพื้นอารมณ์แต่กำเนินที่มีความวิตกกังวลสูงจะมีโอกาสเกิดปฏิกิริยารุนแรงต่อเหตุการณ์กดดันที่เกิดขึ้นในชีวิตและตามมาด้วยภาวะปรับตัวผิดปกติ
การบำบัดรักษา
- โรคเครียดแบบเฉียบพลัน (acute stress disorder: ASD)
-
2) การบำบัดทางจิตใจ สิ่งสำคัญคือการให้กำลังใจ ส่งเสริมให้ผู้ป่วยได้พูดระบายความคิด ความรู้สึกเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เผชิญมาเท่าที่ผู้ป่วยต้องการ โดยไม่ต้องลงรายละเอียดของเหตุการณ์เพราะอาจทำให้ผู้ป่วยแย่ลง
- โรคเครียดหลังผ่านเหตุการณ์สะเทือนขวัญ (post-traumatic stress disorder: PDST) นอกจากการ บำบัดจะเหมือนผู้ป่วยโรคเครียดแบบเฉียบพลันดังกล่าวไปแล้วข้างต้น การบำบัดทางจิตใจในผู้ป่วยโรคเครียดหลังผ่าน เหตุการณ์สะเทือนขวัญ จะมีการบำบัดด้วยจิตบำบัดหลายรูปแบบ เช่น ให้ผู้ป่วยเผชิญหน้ากับเหตุการณ์สะเทือนขวัญ อีกครั้งผ่านการจินตนาการ (exposure therapy) หรือการสอนวิธีการปรับตัวกับภาวะเครียด (stress management) และการให้ผู้ป่วยนึกภาพเหตุการณ์สะเทือนขวัญไปพร้อมกับมองตามนิ้วมือของผู้บำบัดที่เคลื่อนไหว ไปมาตามขวาง (eye movement desensitization and reprocessing : EMDR)
- ภาวะการปรับตัวผิดปกติ (adjustment disorder)
2) การบำบัดทางจิตใจ เป็นการบำบัดที่สำคัญที่สุดเพื่อลดอาการของผู้ป่วย และช่วยเหลือให้ผู้ป่วยมีการปรับตัวที่ดีขึ้นอย่างน้อยก็เท่าเดิมก่อนที่จะเกิดปัญหา
-
-