Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 14 การพยาบาลเกี่ยวกับผู้ที่มีปัญหาทางเดินหายใจ - Coggle Diagram
บทที่ 14 การพยาบาลเกี่ยวกับผู้ที่มีปัญหาทางเดินหายใจ
Bronchitis
เป็น ภาวะหลอดลมฝอยอักเสบ
จากเชื้อโรค
อาการ : ไข้ไอเรื้อรัง เจ็บคอ
การรักษา : พ่นยา ยาปฏิชีวนะSteroid
What Is COPD?
•COPD เป็ นโรคระบบทางเดินหายใจ ทีÉทางเดินหายใจและปอดเกิดการอักเสบและหนา
ส่วนทีÉมีการแลกเปลีÉยนออกซิเจนจะถูกทําลาย การไหลของอากาศเข้าออกจากปอดลดลง
ทําให้ออกซิเจนเข้าสู่เนืÊอเยืÉอของร่างกายลดลง และการระบายก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ใน
การหายใจออกเป็ นไปได้น้อย การหายใจจึงถีÉขึÊน และปอดทํางานหนักมากขึÊน
กระบวนการเกิด COPD
•1. ผลจากการทีÉมีการอักเสบและตีบแคบของหลอดลม (airflow limitation) ทําให้
ตรวจพบ FEV1 ทีÉ ลดลงร่วมกับมี air trapping ช่วงหายใจออกทําห้เกิดภาวะ hyperinflation และยิÉงเห็นชัดในช่วงทีÉผู้ป่ วยมีการออกแรง เกิดภาวะทีÉเรียกว่า
dynamic hyperinflation ทําให้เกิดอาการเหนืÉอยง่ายจากการ ทีÉประสิทธิภาพใน
การหายใจทีÉลดลง
การทําลายของเนืÊอปอดเกิดเป็ น emphysema ทําให้การแลกเปลีÉยนก๊าซผิดปกติไป (gas exchange abnormailities) หลอดลมทีÉตีบแคบ ทําให้เกิด
ventilation น้อยลง เกิด V/Q mismatch หรือการทีÉกล้ามเนืÊอทีÉใช้ในการหายใจอ่อนล้าลง เกิดภาวะhypoxemia และ hypercapnia มากขึÊน
3growth factor receptor (EGFR) โดย mediators และ proteases หลาย ๆ ชนิด. การหลัÉงเมือกออกมามากกว่าปกติ (mucous hypersecretion) ทําให้เกิดอาการไอมีเสมหะ ซึÉงมักจะ
เป็ นการตอบสนองต่อควันบุหรีÉหรือสิÉงกระตุน้อืÉนๆทีÉมาระคายหลอดลม มีการกระตุ้น epidermal
4hyperplasia, smooth muscle hypertrophy/hyperplasia อาจทา ให้เกิด right ventricular
hypertrophy และ right-side cardiac failure (core pulmonale)ได. การเกิด pulmonary hypertensionอันเป็ นผลจากการทีÉมี hypoxic vasoconstriction ของ small
pulmonary arteries ร่วมกับการทีÉมีโครงสร้างของผนังเส้นเลือดทีÉเปลีÉยนแปลงไปเช่น intimal
ผลกระทบต่ออวัยวะ หรือระบบอืÉนๆในร่างกาย (systemic effects หรือ extrapulmonary
effects) อธิบายได้จากการทีÉมี inflammatory mediators เช่น TNF-α, IL-6, oxygen-derivedfree radicals เพิÉมขึÊน ผลกระทบของ COPD ต่อร่างกายหรืออวัยวะอืÉนๆ
การวินิจฉัย : ซักประวัต
•ซักประวัติ สืบหาความเสีÉยงต่อการเกิดโรค เช่น ประวัติการสูบบุหรีÉ โดยถามครอบคลุมถึง ช่วง
อายุหรือระยะเวลาทีÉสูบบุหรีÉ ปริมาณทีÉสูบในแต่ละวันคิดออกมาเป็ น pack-year โดยคํานวณจากจํานวนซองทีÉสูบเฉลีÉยต่อวัน (ř ซองมี ŚŘ มวน) คูณกับจํานวนปี ทีÉสูบ โดยผู้ป่ วย COPD มัก
มี ประวัติสูบบุหรีÉจัด > ŚŘ pack-year หรือประวัติทีÉอยู่หรือทีÉทํางานอยู่ใกล้โรงงานซึÉงอาจมี
ความสัมพันธ์กับการเกิดโรค
ซักประวัติเกี่ยวกับอาการ
•อาการทีÉพบบ่อย คือ อาการไอลักษณะเป็ น chronic productive cough โดยภาวะนีÊอาจเกิด
ขึÊนใน simple chronic bronchitis หรือ smoker’s cough ได้ อาการไอหรือเสมหะมักมีมากขึÊนในตอนเช้าเนืÉองจากมีการสะสมช่วงทีÉนอนตอนกลางคืน อาการทีÉ พบบ่อยถัดมา คือ
อาการหอบเหนืÉอยโดยเฉพาะเวลาทํากิจกรรม (exertional dyspnea) ผู้ป่ วยอาจจะ บรรยายเป็ นอาการแน่นหน้าอก หายใจลําบาก และในกิจกรรมทีÉต้องใช้กําลังของแขนอาการจะ เด่น
ชดัขึÊน ในเบืÊองต้นทีÉปอดมีพยาธิสภาพผู้ป่ วยจะยังไม่มีอาการจนกระทัÉงการทํางานของปอดลดลง
•จากการซักประวัติยังสามารถประเมินความรุนแรงเบืÊองต้นได้อีกด้วยโดยใน advanced
COPD จะมีอาการเหนืÉอยมากแม้แต่การทํากิจวัตรประจําวันหรืออยู่เฉย ๆ มีการกําเริบเฉียบพลันทีÉ บ่อยขึÊน หรือมีภาวะ resting hypoxemia ต้องการออกซิเจนแทบจะตลอดเวลา
และเนืÉองจากโรค COPD เกิดในคนทีÉมีประวัติการสูบบุหรีÉมาเป็ นระยะเวลานาน จึงมักพบโรคอืÉนทีÉเป็ นผลจากการสูบ บุหรีÉด้วย
การตรวจร่างกาย
1.ในรายทีÉยังสูบบุหรีÉจะมี nicotine stain ทีÉนิÊวมือ มีกลิÉนบุหรีÉติดตัว
ลักษณะหายใจทีÉมีการเพิÉม expiratory time (prolonged expiratory phase) มี expiratory
wheezing พบลักษณะของ hyperinflation คือ ปริมาตรปอดใหญ่ขึÊนสังเกตจาก anterior-posterior
(AP) diameter เพิÉมขึÊน (barrel-shaped chest)
-พบ decreased breath sounds มีการใช้ accessory muscles โดยเฉพาะเวลาหายใจเข้า
บริเวณคอจะเห็นมี hypertrophy ของ sternocleidomastoid และ scalene muscles -อาจเห็นผู้ป่ วยห่อปากเวลาทีÉหายใจออก (pursed lip breathing) เพืÉอเพิÉม expiratory time
ของตัวเอง
-เห็น cyanosis ทีÉนิÊวมือหรือลิÊน
3.ในรายทีÉมีอาการรุนแรงมากขึÊนจะเห็นกล้ามเนืÊอ แขนขาทีÉลีบเล็ก น้Ũาหนักลดลง
ชัดเจน ใน advanced COPD อาจมีอาการแสดงของ right sided heart failure ทีÉเกิดจากการ decompensate ของหัวใจต่อ chronic pulmonary hypertension
(Cor Pulmonale) ตรวจพบ engorged jugular venous pressure, right ventricular heaving, 3rd heart sound, hepatic congestion, ascites, peripheral
edema
Chronic bronchitis
การตราจทางห้องปฏิบัติการ
1ของ FEV1และ FEV1 /FVC ratio โดยใช้ค่าที่วัดได้หลังจากให้ short-acting inhaled
bronchodilator ในขนาดทีÉเหมาะสมแล้ว เช่น salbutamal ขนาด ŜŘŘ μg (postbronchodilator FEV1 , FEV1 /FVC) และนําค่าที่ได้ไปเทียบกับค่ามาตรฐาน
ของคนในกลุ่มอายุ ส่วนสูง เพศและเชื่อชาติเดียวกัน จําแนกความรุนแรงออกเป็ น. การตรวจสมรรถภาพปอดหรือ spirometry ถือเป็ น gold standard ในการวินิจฉัย
โรค จําแนกความรุนแรง และติดตามดู progression ของโรคได้จะเห็นว่ามีการลดล'4ขั้น
•1. Chest X-ray (CXR) ช่วยในการวินิจฉัยแยกโรคทีÉมี ลักษณะอาการคล้ายคลึงกัน หรือ
วินิจฉัยภาวะแทรกซ้อนอืjนทีjอาจเกิดขึ่นร่วมด้วยได้ เช่น ภาวะหัวใจล้ม เหลว ส่วนความผิดปกติที่บ่งชี้ถึงการมีหลอดลมอุดกั้นเรื้อรัง จะพบต่อเมื่อมีลักษณะ ของ hyperinflation หรือมี
bullous แล้ว เช่น flattened diaphragm, มีการเพิÉมขึÊนของ retrosternal air space,hyperlucency of the lungs, rapid tapering of the vascular markings
การตรวจ computed tomography (CT) ของทรวงอก ทําในกรณีทีjต้องการดูลักษณะ
การกระจายตัวของ emphysema เพืÉอพิจารณาเรืÉองการผ่าตัดรักษา หรืออาจใช้ highresolution CT (HRCT) scan กรณีทีÉวินิจฉัยยาก
3failure ถ้าเป็ นไปได้ วัดขณะ room air (FiO2 0.21 at sea level) หรือถ้ามีการพ่นยา
ปรับออกซิเจนให้ทําหลังพ่นยา ŚŘ-śŘ นาที การตรวจ arterial blood gas (ABG) เฉพาะในกลุ่มทีÉ FEV1< 50% predicted
หรือ ผู้ป่ วยทีjมีอาการ หรืออาการแสดงของ respiratory failure หรือ right heart
การตรวจคดักรองภาวะ alpha-1 antitrypsin deficiency ทําเฉพาะในกลุ่ม
Caucasian ทีÉเป็ น COPD อายุต่Ũากว่า 55 ปี หรือมีประวัติครอบครัวเป็ นโรคเดียวกันินิจฉัย เมื่อค่า serum concentration of alpha-1 antitrypsin ทีÉต่Ũากว่าřŝ-ŚŘ%
ของค่าปกต
แนวทางการรักษา
เนืÉองจากโรค COPD เป็ นโรคไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ การป้ องกันการเกิดโรคถือ เป็ น
เป้ าหมายทีÉสําคัญทีÉสุด แต่เมืÉอเกิดโรคแล้วการดูแลรักษาจะต้องมุ่งดูแลรักษาจะประกอบไป
ด้วย
การประเมินและติดตามโรค (assess and monitor disease)
การลดปัจจัยเสีÉยงต่อการเกิดโรค (reduce risk factors)
การดูแลผู้ป่ วย COPD ในช่วงทีÉโรคสงบ (manage stable COPD)
การดูแลรักษาช่วงทีÉมีการกําเริบของโรคเฉียบพลัน (manage exacerbations)
Pleural effusion
เป็นภาวะที่มีนํ้าในช่องเยื่อหุ้มปอด
อาจเกิดจาก การอักเสบ ภาวะนํ้าเกิน
มีโอกาสพัฒนาไปเป็น Empyema thoracis จากการเปลี่ยนแปลงของนํ้า
มีความเข้มข้นเพิ่มมากขึ้น
Pneumonia ปอด
เป็น ภาวะ ที่มีการติดเชื้อในปอด อักเสบ ทําใหเ้กิดสิ่ง
คัดหลั่งพัฒนารูปแบบเป็น 3 ระยะ ปัญหาที่พบคือ พื้นที่ในการแลกเปลี่ยน Gas ลดลง
อาการ : ไข้สูง เหงื่อออกมากหลังไข้ไอเสมหะมากเหนียวข้น หอบ อ่อนเพลีย
การดูแล : ลดไข้เพิ่มนํ้าให้กับร่างกาย ละลาย
เสมหะ พักผ่อน ให้ออกซิเจนเพียงพอ
ภาวะแทรกซ่อนที่สําคัญ
โรคแทรกซ้อน การวินิจฉัยและการรักษาที่ถูกต้องรวดเร็ว
จะช่วยลดภาวะแทรกซ้อนของปอดอักเสบได้การเกิดภาวะแทรกซอ้นทําให้เกิดอันตรายถึงแก่ชีวิตได้ภาวะ แทรกซ้อนจะเกิดขึ้นได้บ่อยในผู้ป่วยสูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ภาวะแทรกซอ้นที่พบได้แก่
1.ปอดบวมนํ้า หรือมีโลหิตคั่งในปอด
2.เยื่อหุ้มปอดอักเสบ ทั้งชนิดมีนํ้า และไม่มีนํ้า ในโพรงเยื่อ
หุ้มปอด
3.มีหนองในโพรงเยื่อหุ้มปอด
4.มีการติดเชื้อของไต เยื่อบุช่องท้องอักเสบ เยื่อหุ้มหัวใจ
อกัเสบ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ ข่ออักเสบเป็นหนอง การติดเชื้อในอวยัวะเหล่านี้เกิดจากมีการติดเชื้อในกระแสโลหิต
ทําให้เกิดพิษของแบคทีเรียกระจายไปสู่อวยัวะ อื่นๆ
5.หูชั้นกลางอักเสบและโพรงไซนัสอักเสบ
6.ช็อคจากการติดเชื้อ
7.ระบบไหลเวียนล้มเหลว้วมกับหัวใจวายชนิดโลหิตคั่ง
8.เกิดการจับกลุ้มของโลหิตอุดตัน ในหลอดโลหิต เกิดขึ้น
การรักษาโดยทั่วไป
ให้ร่างกายได่รับสารนํ้าอย่างเพียงพอโดยการแนะนําผู้ ป่วยให้ดื่มนํ้ามาก ๆ ในผู้ป่วยที่มีการสูญเสียนํ้าออกจากร่่างกาย โดยเฉพาะทางเดินหายใจ เช่น กรณามีการหายใจ
เร็ว หอบ หรือมีไข้ ต้องให้สารนํ้าทดแทน โดยให้ดื่มนํ้าหรือให้สารละลายทางหลอดเลือดดํา
2.การให้อาหาร ควรให้รับประทานอาหารอ้อนบ่อย ๆ ครั้ง3. การคั่งค้างขอ้เสมหะ เสมหะ หรือนํ้ามูกที่อุดกั้นทางเดิน
หายใจ โดยการลดเสมหะ โดยให้ดื่มนํ้ามาก ๆ
การรักษาตามอาการ
การพิจารณาให้ออกซิเจน จะให้เมื่ออัตราการหายใจ ตั้งแต่ 30 ครั้งต่อนาทีขึ้นไป หรือหายใจมีอกบุ่ม จมูกบานกระวนกระวาย ซีด ซึมลง เขียว O2 sat น้อยกว่า 90%
2.ในผู้ป่วยที่มีหลอดลมหดเกร็งร่วมด้วย ฟังปอดได้ยินเสียงrhonchi , wheezing พิจารณาให้ยาขยายหลอดลมร่วมด้วย
ยาขับเสมหะ glyceril gluiacerate
ยาละลายเสมหะ เช่น bromhexine หรือ Acetylcysteine
กรณีเสมหะเหนียวมาก
การรักษาโดยการใช้ยาปฏิชีวะนะ
•จะพิจารณาจากเชื้อที่เป็นสาเหตุ ปอดอักเสบจากเชื้อที่
เป็น Pneumococci มักจะรักษาได้ผลดีด้วย Penicillin Gsodium เข้าทางหลอดเลือดดํา และยาอื่น ๆ เช่น
cephalosporin ,ampicillin และ Erythromycin
การพยาบาล
• 2. ดูแลสมดุล สารนํ้าและอิเล็คโทรลัยตให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
อาหาร ในระยะแรกควรเลือกให้อาหารอ่อนๆ
การดูแลบําบัดระบบทางเดินหายใจ
ให้ผู้ป่วยได้รับการพักผ่อนจากเพียงพอ
ให้ยาลดไข้และเช็ดตัวลดไข้ควรให้ยาลดไข้ก่อน
ดูแลความสะอาดปากและฟั
Asthma
หอบหืด : เสียงปอด Wheezing
ต้องได
1.ยาพ้นขยายหลอดลม แบบเป็น Puff ให้พ้น
เอง มีแบบผสม steroid ต้องดูแลให้บ้วนปาก
หลังพ้นยา เพื่อป้องกันการเกิดเชื้อราในช้องปาก
ทําให้ร่างกายอบอุนตลอดเวลา
ไม่สัมผัสกับสิ่งกระตุ้นให้อาการกําเริบ