Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 14
ระบบทางเดินหายใจ, Pneumonia ปอด, 6270876B-0C24-45DF-88A7…
บทที่ 14
ระบบทางเดินหายใจ
COPD
กระบวนการเกิด COPD
1.ผลจากการที่มีการอักเสบและตีบแคบของหลอดลม (airflow limitation) ทำให้ ตรวจพบ FEV1 ที่ลดลงร่วมกับมี air trapping ช่วงหายใจออกทำให้เกิดภาวะ hyperinflation และยิ่งเห็นชัดในช่วงที่ผู้ป่วยมีการออกแรงเกิดภาวะที่ เรียกว่า dynamic hyperinflation ทำให้เกิดอาการเหนื่อยง่ายจากการที่ประสิทธิภาพในการหายใจที่ลดลง
2.การทำลายของเนื้อปอดเกิดเป็น emphysema
ทำให้การแลกเปลี่ยนก๊าซผิดปกติไป (gas exchange abnormailities) หลอดลมที่ตีบแคบ ทำให้เกิด ventilation น้อยลง เกิดV/Q mismatch หรือการที่กล้ามเนื้อที่ใช้ในการหายใจอ่อนล้าลง เกิดภาวะ hypoxemia และ hypercapnia มากขึ้น
3.. การหลั่งเมือกออกมามากกว่าปกติ (mucous hypersecretion) ทำให้เกิดอาการไอมีเสมหะ ซึ่งมักจะ เป็นการตอบสนองต่อควันบุหรี่หรือสิ่งกระตุ้นอื่นๆที่มีมาระคายหลอดลมมีการกระตุ้น epidermal growth factor receptor (EGFR) โดย mediators และ proteases หลาย ๆ ชนิด
- การเกิด pulmonary hypertension อันเป็นผลจากการที่มี hypoxic vasoconstriction ของ small pulmonary arteries ร่วมกับการที่มี โครงสร้างของผนังเส้นเลือดที่เปลี่ยนแปลงไปเช่น intimal hyperplasia, smooth muscle hypertrophy/hyperplasia อาจทำให้เกิด right ventricular hypertrophy และ right-side cardiac failure (core pulmonale)ได้
5.ผลกระทบต่ออวัยวะหรือระบบอื่นๆในร่างกาย(systemiceffectsหรือextrapulmonary effects) อธิบายได้จากการที่มี inflammatory mediators เช่น TNF-α, IL-6, oxygen-derived free radicals เพิ่มขึ้นผลกระทบของ COPD ต่อร่างกายหรืออวัยวะอื่นๆ
การวินิจฉัย
ซักประวัติสืบหาความเสี่ยงต่อการเกิดโรค เช่น ประวัติการสูบบุหรี่โดยถามครอบคลุมถึงช่วง อายุหรือระยะเวลาที่สูบบุหรี่ ปริมาณที่สูบในแต่ละวันคัด ออกมาเป็น pack-year โดยคำควณ จากจำนวนซองที่สูบเฉลี่ยต่อวัน
ซักประวัติเกี่ยวกับอาการ
•อาการที่พบบ่อย คือ อาการไอลัษณะเป็น chronic productive cough โดยภาวะนี้อาจเกิดขึ้น ใน simple chronic bronchitis หรือ smoker’s cough ได้ อาการไอหรือเสมหะมักมีมากขึ้น ในตอนเช้าเนื่องจากมีการสะสมช่วงที่นอนตอนกลางคืน
การตรวจร่างกาย
-
- ลักษณะหายใจที่มีการเพิ่ม expiratory time (prolonged expiratory phase) มี expiratory wheezing
3.ในรายที่มีอาการรุนแรงมากขึ้นจะเห็นกล้ามเนื้อแขนขาลีบเล็ก น้ำหนักลดลง ชัดเจน ใน advanced COPD อาจมีอาการแสดงของ right sided heart failure ที่เกิดจากการ decompensate ของหัวใจต่อ
การตราจทางห้อง
ปฏิบัตกิาร
- การตรวจสมรรถภาพปอดหรือ spirometry ถือเป็ น gold standard ในการวินิจฉัยโรค จําแนกความรุนแรง และติดตามดู progression ของโรคได้จะเห็นว่ามีการลดลง ของ FEV1และ FEV1 /FVC ratio โดยใช้ค่าทที่วัดได้หลังให้ short-acting inhaled bronchodilator
- Chest X-ray (CXR) ช่วยในการตรวจวินิจฉัยแยกโรคที่มีลักษณะอาการคล้ายคลึงกันหรือ
วินิจฉัยภาวะแทรกซ้อนอื่นที่อาจเกิดขึ้นร่วมด้วยได้ เช่น ภาวะหัวใจล้ม เหลว ส่วนความผิดปกติที่บ่งชี้ถึงการมร หลอดลมอุดกั้นเรื้อรัง
- การตรวจ computed tomography (CT) ของทรวงอก ทาํ ในกรณที่ต้องการดูลักษณะ การกระจายตัวของ emphysema เพื่อพิจารณาเรื่องการผ่าตัดรักษา หรืออาจใช้ high resolution CT (HRCT) scan กรณีที่ตรววินิจฉัยยาก
4.การตรวจ arterial blood gas (ABG) เฉพาะในกลุ่มที่ FEV1< 50% predicted หรือผู้ป่วยที่มีอาการหรืออาการแสดงของ respiratoryfailureหรือrightheart failure ถ้าเป็ นไปได้ วัดขณะ room air (FiO2 0.21 at sea level) หรือถ้ามีการพ่นยา ปรับออกซิเจนให้ทำหลังพ่นยา
5.การตรวจคดกัรองภาวะalpha-1antitrypsindeficiencyทำเฉพาะในกลุ่ม Caucasian ที่ป็น COPD อายุต่ำกว่า 45 ปี หรือมีประวัติครอบครัวเป็นโรคเดียวกัน วินิจฉัย เมื่อค่า serum concentration of alpha-1 antitrypsin ของค่าปกติที่ต่ำกว่า 15-20%
แนวทางการรักษา
- การประเมิน และติดตามโรค (assess and monitor disease)
- การลดปัจจัย เสี่ยงต่อการเกิดโรค (reduce risk factors)
- การดูแลผู้ป่วย COPD ในช่วงที่โรคสงบ (manage stable COPD)
-
-
การพยาบาล
1.การดูแลบําบัดระบบทางเดินหายใจ ผู้ป่วยจะมีปัญหาการระบาย อากาศและการแลกเปลี่ยนก๊าซบกพร่อง เพราะมีนํ้า (exudate)ใน ถุงลมปอด ปอดแฟบ มีเสมหะในทางเดินหายใจ และอาจมีการหด เกร็งของหลอดลม
2.ดูแลสมดุลสารนํ้าและอิเล็คโทรลัยต์ให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ เพราะ ผู้ป่วยมีการเสียนํ้า ออกไปทางการหายใจและผิวหนังมากกว่าปกติ จึงควรให้ ทดแทนโดยให้ดื่มนํ้า สูดดมละอองนํ้า(Aerosol)หรือให้ สารละลายทางหลอดเลือดดําให้เพียงพอ
- อาหาร ในระยะแรกควรเลือกให้อาหารอ่อนๆ เพราะผู้ป่วยมักมี อาการเบื่ออาหาร มาก ในรายที่มีโรคแทรก หรือมีภาวะขาดอาหาร ร่วมด้วย อาจพิจารณาให้อาหารที่มีโปรตีนและแคลลอรี่สูงควบคู่ กับการให้วิตามิน ทดแทนให้เพียงพอ
-
-
-
-
-
-
-