Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 14 ระบบทางเดินหายใจ Respiratory, นางสาวณัฐธยาน์ บุญศรี UDA6280003…
บทที่ 14
ระบบทางเดินหายใจ
Respiratory
Non-infection
ไม่ติดเชื้อ
Pleural effusion
ภาวะน้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด
อาจเกิดจาก การอักเสบ ภาวะน้ำเกินปกติในพื้นที่ระหว่าง
เยื่อหุ้มปอดและเยื่อหุ้มช่องอก โดยปริมาณน้ำที่มากขึ้น
จะไปกดทับปอด ส่งผลให้ปอดขยายตัวได้ไม่เต็มที่
มีโอกาสพัฒนาไปเป็น Empyema thoracis(โรคหนองในช่องเยื่อหุ้มปอด)
อาการ
ไอ เจ็บหน้าอก หายใจลำบาก หรือรู้สึกเจ็บขณะหายใจ
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกาย, การเอกซเรย์, CT Scan, อัลตราซาวด์,
เจาะโพรงเยื่อหุ้มปอดหรือสอดท่อขนาดเล็กเข้าไปในปอดเพื่อระบาย
ของเหลวออกมา แล้วนำของเหลวดังกล่าวไปตรวจสอบ
การรักษา
ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะได้รับการรักษาด้วยการระบายของเหลว
ออกจากช่องเยื่อหุ้มปอดเป็นอันดับแรก โดยเปิดรอยแผลขนาดเล็กและ
สอดท่อเข้าไปในช่องเยื่อหุ้มปอด เพื่อระบายของเหลวออก,
การผ่าตัดสอดท่อให้ของเหลวไหลจากบริเวณปอดออกสู่ช่องท้อง
การป้องกัน
รีบรักษาโรคที่อาจเป็นสาเหตุ, ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น งดสูบบุหรี่
Asthma
โรคหอบหืด
หอบหืด เสียงปอด เสียงวี้ด(Wheezing) ต้องได้รับยาพ่นขยายหลอดลม ให้พ่นเอง
มีแบบผสม steroid ต้องให้บ้วนปากหลังพ่นยา เพื่อป้องกันการเกิดเชื้อราในช่องปาก,
ทำให้ร่างกายอบอุ่น, ไม่สัมผัสกับสิ่งกระตุ้นให้อาการกำเริบ
ปัจจัยหลัก
สิ่งแวดล้อม เช่น สัมผัสสารก่อภูมิแพ้ ความเครียด
สัมผัสอากาศเย็น, ปัจจัยทางพันธุกรรม
เป็นโรคที่มีการอักเสบเรื้อรังของเยื่อบุหลอดลม เมื่อสัมผัสสิ่งกระตุ้น
กล้ามเนื้อบริเวณหลอดลมจะเกิดการหดเกร็ง ผนังหลอดลมบวม
หนาขึ้น ทำให้หลอดลมตีบแคบลง ผู้ป่วยจึง
หายใจลำบากมีอาการเหนื่อยหอบ มีเสมหะ
รักษาไม่หายขาด
แต่สามารถควบคุมไม่ให้อาการกำเริบได้
และการป้องกันอาการกำเริบด้วยการหลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้นต่างๆ
COPD
(Chronic Obstructive
Pulmonary Disease)
โรคหลอดลมอุดกั้นเรื้อรัง
ทางเดินหายใจและปอดเกิดการอักเสบและหนา ส่วนที่มีการแลกเปลี่ยนออกซิเจนจะ
ถูกทําลาย การไหลของอากาศเข้าออกลดลง ออกซิเจนเข้าลดลง และการระบายก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์เป็นไปได้น้อย การหายใจจึงถี่ขึ้น และปอดทำงานหนักมากขึ้น
การวินิจฉัย
ซักประวัติ สืบหาความเสี่ยงต่อการเกิดโรค เช่น
ประวัติการสูบบุหรี่จัด
,
ซักประวัติการไอแบบมีเสมหะ, ซักประวัติอาการหอบเหนื่อย
การตรวจร่างกาย
ในรายที่สูบบุหรี่มีคราบนิโคตินที่นิ้วมือ, ปริมาตรปอดใหญ่ขึ้น,
เสียงการหายใจลดลง, กล้ามเนื้อ แขนขาที่ลีบเล็ก น้ำหนักลดลง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจสมรรถภาพปอดหรือ
spirometry (จำแนกความรุนแรงออกเป็น 4 ขั้น),
Chest X-ray (CXR) ,การตรวจ computed tomography (CT)
ของทรวงอก, การตรวจ arterial blood gas (ABG) ,
การตรวจคัดกรองภาวะ alpha-1 antitrypsin deficiency
การรักษา
ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ การป้องกันการเกิดโรค
ถือเป็นเป้าหมายที่สำคัญที่สุด ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค
ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติ เลิกสูบบุหรี่
Infection
ติดเชื้อ
Bronchitis
โรคหลอดลมอักเสบ
เป็นภาวะหลอดลมฝอยอักเสบ จากเชื้อโรค
อาการ
ไข้ ไอเรื้อรัง เจ็บคอ ไอ มีเสมหะ
หายใจลำบาก หอบเหนื่อย แน่นหน้าอก
การรักษา
พ่นยา ยาปฏิชีวนะ Steroid , ชนิดเฉียบพลัน มักจะหาย
ได้เอง ภายใน 7-10 วัน ถ้าปฏิบัติตนถูกต้อง ส่วนใหญ่จึงเป็นการรักษา
ตามอาการ พักผ่อนเพียงพอ ดื่มน้ำอุ่น หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่
แบ่งได้เป็น
โรคหลอดลมอักเสบ
เฉียบพลัน
(Acute Bronchitis)
มีอาการไม่เกิน 3 สัปดาห์ ส่วนใหญ่ 90%
เกิดจากเชื้อไวรัส เหมือนไข้หวัด ส่วนใหญ่
มักเป็นตามหลังไข้หวัด ซึ่งไม่ได้รับการรักษา
ทำให้การติดเชื้อลามลงไปถึงหลอดลม
โรคหลอดลมอักเสบ
ชนิดเรื้อรัง
(Chronic Bronchitis)
มีอาการเกิน 3 สัปดาห์ อาจ
เกิดจากการสูบบุหรี่เป็น
ระยะเวลานาน ผู้ป่วยเสี่ยง
ต่อการติดเชื้อแบคทีเรีย
ได้ง่ายขึ้น
Pneumonia
ปอดอักเสบ
จากการติดเชื้อ
(ปอดบวม)
เป็นชนิดของปอดอักเสบที่พบได้บ่อยที่สุด โดยเชื้อโรคที่
เข้าสู่ปอดและทำให้เกิดการอักเสบของถุงลมปอดและ
เนื้อเยื่อโดยรอบ ได้แก่
เชื้อไวรัส
(COVID-19,Influenza[Flu])
เชื้อแบคทีเรีย
(Streptococcus) และ
เชื้อรา
(Cryptococcus)
อาการ
ไข้สูง เหงื่อออกมากหลังไข้ ไอ เสมหะมาก
เหนียวข้น หอบ อ่อนเพลีย
การดูแล
ลดไข้ เพิ่มน้ำให้กับร่างกาย
ละลายเสมหะ พักผ่อน ให้ออกซิเจนเพียงพอ
เกิดสิ่งคัดหลั่ง พัฒนารูปแบบเป็น 3 ระยะ
ปัญหาที่พบคือ พื้นที่ในการแลกเปลี่ยน Gas ลดลง
ปัจจัยเสี่ยง
พบบ่อยในเด็กเล็กอายุต่ำกว่า 2 ขวบ
และผู้ที่มีอายุ 65 ปี ขึ้นไป, ผู้ที่สูบบุหรี่, ผู้ที่มีภาวะ
ภูมิคุ้มกันบกพร่อง, ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง, ผู้ป่วยที่เข้าICU
การรับเชื้อ
ไอ จาม หรือหายใจรดกัน, แพร่กระจาย
ของเชื้อตามกระแสโลหิต, ลุกลามจากการติดเชื้อที่
อวัยวะข้างเคียงปอด, ทำหัตถการบางอย่าง
การรักษา
รักษาการติดเชื้อร่วมกับการป้องกัน
ภาวะแทรกซ้อน โดยให้ยาปฏิชีวนะใช้ในกรณีของ
การติดเชื้อแบคทีเรีย(ระวังเชื้อดื้อยา),
รักษาแบบประคับประคองตามอาการ จากการ
ติดเชื้อไวรัส และเชื้ออื่นๆ ซึ่งอาจให้ยาลดไข้
ยาขยายหลอดลม ยาละลายเสมหะ
Empyema
Thoracis
โรคหนองในโพรง
เยื่อหุ้มปอด
ภาวะแทรกซ้อน
ปอดบวมน้ำ, เยื่อหุ้มปอดอักเสบ, มีหนองในโพรง
เยื่อหุ้มปอด, มีการติดเชื้อของไตและเยื่อหุ้มต่างๆ, หัวใจวายชนิดโลหิตคั่ง
การรักษา
ดื่มน้ำมากๆ, รับประทานอาหาร
อ่อนบ่อยๆ ครั้งละน้อยๆ,
ลดเสมหะ,หลีกเลี่ยงควันและบุหรี่
รักษาตามอาการ
ให้ออกซิเจน(O2 sat
น้อยกว่า 90%), ให้ยาขยายหลอดลม,
ยาขับเสมหะ, ยาละลายเสมหะ
รักษาโดยการ
ใช้ยาปฏิชีวนะ
พิจารณาจากเชื้อที่เป็นสาเหตุ
การพยาบาล
การดูแลบำบัดระบบทางเดินหายใจ, ดูแลสมดุล สารน้ำและ
อิเล็คโทรลัยต์ให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ, ให้อาหารอ่อนๆ
สาเหตุ
ที่พบได้บ่อย เช่น ปอดอักเสบ วัณโรคปอด มะเร็งปอด
ภาวะหัวใจวาย เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ ฝีตับอะมีบา ตับแข็ง
ตับอ่อนอักเสบ เอสแอลอี โรคปวดข้อรูมาตอยด์
โรคไตเนโฟรติด เมลิออยโดซิส แอนแทรกซ์
อาการ
เจ็บแปลบเมื่อหายใจแรงๆ แน่นหน้าอก
หายใจหอบเหนื่อย
นางสาวณัฐธยาน์ บุญศรี UDA6280003