Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มะเร็ง, image, image, image, image, image, image, image, image, image,…
มะเร็ง
-
การฉายรังสี
การฉายรังสี หมายถึง การรักษาโรคมะเร็งและเนื้องอกด้วยอนุภาคของรังสี (Ionizing radiation) โดยมีเป้าหมายการรักษาให้ก้อนมะเร็งหรือเนื้องอกได้รับพลังงานรังสีสูงสุด ในขณะที่ เนื้อเยื่อปกติโดยรอบได้รับพลังงานรังสีน้อยที่สุดเท่าที่จะทำได้เพื่อทำลายก้อนมะเร็งหรือเนื้องอก เพิ่มคุณภาพชีวิตและเพิ่มอัตราการการอยู่รอดชีวิตของผู้ป่วย
-
การพยาบาล
:<3:
คำแนะนำก่อนการฉายรังสี
- ความรู้เกี่ยวกับการรักษาด้วยการฉายรังสี ขั้นตอนการรักษาและ ภาวะแทรกซ้อนเพื่อให้ผู้ป่วยมีความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับกระบวนการรักษาและลดความวิตกกังวล
- การส่งเสริมภาวะโภชนาการที่เหมาะสมเพื่อให้ร่างกายแข็งแรง สมบูรณ์ พร้อมรับการรักษาและลดผลข้างเคียงต่างๆ ขณะที่ได้รับการฉายรังสี
- การรักษาความสะอาดในช่องปากและการดูแลช่องปากที่ถูกต้องในผู้ป่วย มะเร็งศีรษะและคอเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนในช่องปากที่รุนแรงระหว่างการฉายรังสี
- การบริหารแขนและหัวไหล่ที่ถูกต้องในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมเพื่อป้องกัน ภาวะแขนและข้อไหล่ติดระหว่างการฉายรังสี ซึ่งส่งผลต่อการจัดท่าในการฉายรังสีหรือภาวะไม่พึงประสงค์ต่างๆ จากการฉายรังสีในตำแหน่งอื่นๆ เช่น หัวไหล่ แขน
- การดูแลตนเองในกรณีที่มีโรคประจำตัวหรือได้รับการรักษาโรคอื่นๆร่วม ด้วยเพื่อป้องกันภาวะโรคประจำตัวแทรกซ้อนในระหว่างรับการฉายรังสี
-
การพยาบาลระหว่างฉายรังสี
ให้ความรู้ผู้ป่วยเกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากการฉายรังสี ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงของผิวหนัง (Radiation dermatitis) ภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบ (Oral mucositis) ภาวะน้ำลายแห้ง (Xerostomia) ภาวะผมร่วง (Alopecia)
-
ประสานงานกับรังสีแพทย์หากพบภาวะแทรกซ้อนในระดับรุนแรง ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงของผิวหนัง (Radiation dermatitis) ภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบ (Oral mucositis) ระดับ 3 ขึ้นไปหรือ อาการของภาวะสมองบวม (Brain edema) เพื่อพิจารณาการรักษา หรือหยุดพักฉายรังสี
-
ผลกระทบของการรักษาขึ้นอยู่กับปริมาณรังสีที่ได้รับ เทคนิคการรักษา แนว ทางการรักษาร่วม ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 2 ระยะ :<3:
- ระยะเฉียบพลัน (Acute effect)
-
การรักษามะเร็งโดยผ่าตัด
มะเร็งเต้านม :<3:
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
ซึ่งสิ่งสำคัญในการรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม คือ การทำให้ผู้ป่วยมีชีวิตที่มีคุณค่าและความสุข และการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพทำให้ผู้ป่วยมีการรับรู้ที่ดี มีพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพที่เหมาะสมและคุณภาพชีวิตดีขึ้นได้
-
ปัญหา
การเกิดอาการข้างเคียงที่แตกต่างหลากหลาย ได้แก่ อาการอ่อนเพลีย เมื่อยล้า เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ผมร่วง สีผิวเปลี่ยนแปลง นํ้าหนักลด และภาพลักษณ์เปลี่ยนไปทำให้เกิดความไม่มั่นใจในรูปร่างของตนเอง สูญเสียภาพลักษณ์จึงมีผลต่อการปรับตัวด้านสัมพันธภาพในครอบครัวและส่งผลกระทบต่อการเข้าสังคม
ผู้ป่วยและญาติผู้ดูแลต้องทำความเข้าใจเกี่ยวกับผลข้างเคียงของการทำเคมีบำบัด
ผลข้างเคียงที่เกิดจากเคมีบำบัดนั้นเกิดจากการที่ตัวยาไปทำลายเซลล์มะเร็ง ทำให้มีผลกับเซลล์ปกติด้วย โดยเซลล์ปกติมีด้วยกัน 2 ชนิด ได้แก่ ชนิดแบ่งตัวเร็ว และชนิดที่ไม่ได้แบ่งตัวเร็ว โดยเซลล์ที่ได้รับผลกระทบจะเป็นเซลล์ชนิดแบ่งตัวเร็ว เช่น เซลล์รากผม เซลล์เม็ดเลือด เซลล์เยื่อบุในช่องทางเดินอาหารตั้งแต่ปากถึงทวารหนัก
ผลข้างเคียงที่เกิดขึ้นจะเกิดเพียงชั่วคราวและฟื้นตัวได้เร็ว เมื่อหยุดการรักษาร่างกายก็จะกลับมาเป็นปกติ เช่น ผมที่เคยร่วงก็จะกลับมาขึ้นเป็นปกตินั่นเอง โดยผลข้างเคียงที่เกิดขึ้นนั้นยังขึ้นอยู่กับชนิดของยา พบว่ายาบางตัวในการทำเคมีบำบัดก็ไม่ได้ทำให้ผมร่วง โดยส่วนมากยาที่ทำให้ผมร่วง คือ ยารักษามะเร็งเต้านม
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-