Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เทคนิคการแยกสารบริสุทธิ์และการตรวจสอบสารชีวโมเลกุล - Coggle Diagram
เทคนิคการแยกสารบริสุทธิ์และการตรวจสอบสารชีวโมเลกุล
เทคนิคการแยกบริสุทธิ์
การสกัดโปรตีนให้
บริสุทธิ์จากเซลล์
การทำให้เป็นเนื้อเดียวกันด้วยการบด
การทำให้เป็นเนื้อเดียวกันด้วยการสับเป็นชิ้น
การทำให้เป็นเนื้อเดียวกันด้วยใช้คลื่นเสียง
การทำให้เป็นเนื้เดียวกันด้วยการแช่แข็งเซลล์การละลาย
การปั่นตกตะกอน
หมุนเหวี่ยงตัวอย่าง 600 g มีนิวเคลียสตกลงมา
ความเร็วสูงขี้น 15000 x g ทำให้ไมโทคอนเดียตกตะกอน
ความเร็วสูงขึ้น100000 x g ส่วนโครโมโซมตกตะกอน
การตกตะกอนด้วยเกลือ
เติมเกลือแอมโมเนียมซัลเฟตลงไป
โครมาโทรกราฟีแบบคอลัมน์
อาศัยสามารถในการกระจายตัวแตกต่างกันระหว่างเฟส เฟสที่บรรจุในคอลัมน์ เฟสคงที่ และสารละลายที่ชะ เฟสเคลื่อนที่
ประเภทของโครมาโทกราฟีแบบคอลัมน์
โครมาโทกราฟี
แบบกรองผ่านเจล
เทคนิคที่ใช้ในการแยกสารที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่
โครมาโทกราฟี
แบบสัมพรรคภาพ
อาศัยสมบัติในการจับอย่างจำเพาะกับโปรตีนหลายๆชนิด
โครมาโทกราฟี
แบบแลกเปลี่ยนไอออน
อาศัยหลักการประจุสุทธิซึ่งเรซินที่แลกเปลี่ยนไอออนจะมีลิแกนด์ประกอบด้วยประจุบวกประจุลบ
การแยกโปรตีนโดยวิธี เจลอิเล็กโทรโฟริซิส
อิเล็กโทรโฟริซิสแบบ
เจลพอลิอะคริลาไมด์
โปรตีนที่นำมาวิเคราะห์จะถูกทำให้เสียสภาพในสารละลายบัฟเฟอร์เบส
อิเล็กโทรโฟริซิสแบบ ไอโซอิเล็กทริกโฟกัสซิง
โปรตีนต่างชนิดกันจะมีจุดไอโซอิเล็กทริกที่ต่างกัน ค่าไอโซทริกเป็น pH ที่โปรตีนหรือกรดอะมิโน
เจลอิเล็กทริกโทรโฟริซิสแบบสองมิติ
จะแยกโปรตีนโดยเจลอิเล็กโทรโฟริซิสใน 2 ทิศทางที่ตั้งฉากกัน
การตรวจสอบ
สารชีวโมเลกุล
การหาโครงสร้าง
ปฐมภูมิของโปรตีน
ย่อยกรดอะมิโนให้มีขนาดสั้น วิธีการสลายแบบ
เอ็ดแมนทำได้ยากเมื่อมีกรดอะมิโนเพิ่มมากขึ้น
การหาลำดับกรดอะมิโนต้องตัดสายพอลิเปปไทด์ให้เป็นท่อนสั้นๆ
การหาลำดับของกรดอะมิโน
ด้วยวิธีการสลายแบบเอ็ดแมน
เพื่อหาลำดับกรดอะมิโนของเปปไทดืขนาด 10-40 กรดอะมิโน ใช้เวลาประมาณ30นาที ขึ่นอยู่กับความบริสุทธิ์ขอสารตัวอย่าง
เทคนิคการวิเคราะห์โปรตีน
แมสสเปกโทรเมทรี
เป็นเทคนิคการวิเคราะห์ขนาดของโมดลกุลได้อย่างแม่นยำ
สารท่ต้องศึกษาจะถูกทำให้เป็นประจุดด้วยการใช้รังสีหรืออนุภาคขนาดเล็กเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง
เทคนิคเวสเทิร์นบล็อท
ตรวจหาโปรตีนตั้งชื่อให้คล้อจองกับเซาเธิร์นบล็อท
การประยุกต์ใช้เทคนิค
ทางชีวโมเลกุล
การประยุกต์ใช้ใน
การวินิจฉัยโรค
โรคทางพันธุกรรม เป็นความผิดปกติในมนุษย์ที่เกิดจากการกลายพันธุ์ของยีนเช่น โรคธาลัสซีเมีย เกิดจากการที่ร่างกายสร้างฮีโมโกลบินซึ่งเป็นสารสีแดงในเม็ดเลือดแดง
นำมาประยุกต์ใช้สร้างตัวตรวจจับหายีน
ผิดปกติด้วยปฎิกิริยาลูกโซ่พอลิเมอเรส
ยีนบำบัด
การนำยีนใหม่ใส่ในเซลล์ของผู้ป่วยเพื่อรักษาความผิดปกติเรียกว่ายีนบำบัด
โดยนำยีนใหม่โคลนเข้าในพาหะเพื่อนำเข้าสู่เซลล์ ซึ่งพาหะคือไวรัส
โครงการจีโนมมนุษย์
มีการค้นพบยีนที่เกี่ยวกับโรคอีกหลายชนิดบนตำแหน่งโครมาโซมต่างกันและการพัฒนาเทคนิคการหาลำดับของดีเอนเอที่มีประสิทธิภาพ