Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Hematology, image, image, image, image, image, image - Coggle Diagram
Hematology
Leukemia
เป็นมะเร็งเม็ดเลือดชนิดหนึ่ง ผู้ป่วยโรคนี้จะมีจำนวนเม็ดเลือดขาวเพิ่มขึ้นผิดปกติจนทำลายระบบการสร้างเม็ดเลือดปกติของไขกระดูก ทำให้เม็ดเลือดแดงและเกล็ดเลือดมีจำนวนลดน้อยลง
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดไมอิลอยด์ (Acute Myelogenous Leukemia: AML) เป็นมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดที่พบบ่อย โดยเฉพาะในผู้ใหญ่
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดลิมโฟไซติก (Acute Lymphocytic Leukemia: ALL) พบได้มากในเด็กเล็ก แต่พบในผู้ใหญ่ได้เช่นกัน โดยเซลล์มะเร็งจะเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วในเลือด และมีโอกาสหายขาดได้สูง หากได้รับการรักษาอย่างเหมาะสม
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเรื้อรังชนิดไมอิลอยด์ (Chronic Myelogenous Leukemia: CML) มักเกิดขึ้นในผู้ใหญ่ โดยอาจมีอาการเพียงเล็กน้อยหรือไม่มีเลยเป็นเวลาหลายเดือนหรือหลายปี
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเรื้อรังชนิดลิมโฟไซติก (Chronic Lymphocytic Leukemia: CLL) ส่วนใหญ่พบในผู้สูงอายุ ผู้ป่วยอาจไม่แสดงอาการ แต่มาพบว่าเป็นมะเร็งชนิดนี้โดยบังเอิญจากการตรวจเลือด
-
สาเหตุ
-
-
มีความผิดปกติเกี่ยวกับเลือดอย่างโรคไมอีโลดิสพลาสติกซินโดรม
หรือโรคเอ็มดีเอส (Myelodysplastic Syndrome: MDS)
ซึ่งส่งผลต่อการผลิตเซลล์เม็ดเลือดในไขกระดูก
-
-
-
-
-
-
Anemia
-
-
-
-
การตรวจวินิจฉัย
-
-
Bilirubin: ค่าสูงกว่าปกติ,
-
-
Reticulocyte count : ค่าสูงกว่าปกติ,
-
Lymphoma
สาเหตุ
มะเร็งต่อมน้ำเหลืองเกิดจากเป็นผลมาจากการเติบโตของเซลล์ที่ไม่สามารถควบคุมได้ อายุขัยเฉลี่ยของเซลล์สั้นและจากนั้นเซลล์ก็ตาย อย่างไรก็ตามในคนที่เป็นมะเร็งต่อมน้ำเหลืองเซลล์จะเจริญเติบโตและแพร่กระจายแทนที่จะตาย ยังไม่มีความชัดเจนว่าอะไรเป็นสาเหตุของมะเร็งต่อมน้ำเหลือง แต่ปัจจัยเสี่ยงหลายอย่างเชื่อมโยงกับมะเร็งเหล่านี้
-
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกายเบื้องต้น: แพทย์จะทำการตรวจร่างกายผู้ป่วยเบื้องต้นเพื่อตรวจสอบต่อมน้ำเหลืองที่บวม และตรวจหาสัญญาณอื่น ๆ ของโรคมะเร็ง
การตรวจเลือด: หากคาดการณ์ว่าผู้ป่วยอาจเป็นมะเร็งต่อมน้ำเหลือง แพทย์จะนำเลือดของผู้ป่วยไปตรวจสอบจำนวนและรูปร่างของเซลล์เม็ดเลือด ซึ่งในบางครั้ง แพทย์อาจใช้การตรวจเลือดแบบพิเศษที่เรียกว่า Flow Cytometry เพื่อใช้ตรวจสอบและวิเคราะห์เซลล์ต่าง ๆ รวมถึงเซลล์มะเร็งในเลือด
การตัดเนื้อเยื่อไปตรวจ (ฺBiopsy): เพื่อการวินิจฉัยที่ถูกต้อง แพทย์จะตัดเนื้อเยื่อบางส่วนหรือทั้งหมดของต่อมน้ำเหลืองที่ผิดปกติ แล้วนำไปตรวจโดยใช้กล้องจุลทรรศน์เพื่อตรวจหาเซลล์มะเร็ง
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-