Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ชนิดของคำ - Coggle Diagram
ชนิดของคำ
-
ประพันธสรรพนาม คือ สรรพนามที่ใช้แทนคำนามที่กล่าวมาข้างหน้า เพื่อไม่ต้อง กล่าวขึ้นอีก ได้แก่ ผู้ ที่ ซึ่ง อัน ฯลฯ เช่น
- ขุนดาบผู้ได้รับการยกย่องว่ามีฝีมือยอดเยี่ยมคือพระยาพิชัยดาบหัก
- พวกเราต้องให้อภัยกับคนที่ทำผิดโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์
วิภาคสรรพนาม คือ สรรพนามที่ใช้แทนคำนาม ที่บอกให้รู้ว่ามีคำนามอยู่หลายส่วน และแสดงกริยาร่วมกัน หรือต่างกันก็ได้ เช่น คำว่า บ้าง ต่าง กัน เช่น
- กรรมการนักเรียนในห้อง ป. ๖ ต่างทำหน้าที่ของตนอย่างดี
-
-
นิยมสรรพนาม คือ สรรพนามที่ใช้แทนคำนาม หรือข้อความที่กล่าวมาแล้ว เพื่อชี้เฉพาะหรือเพื่อบ่งความชัดเจน เช่น คำว่า นี่ นั่น โน่น โน้น ที่นี่ ที่นั่น เป็นต้น เช่น
- นี่เป็นหนังสือสารคดีที่ฉันชอบมากที่สุด
- โน่นคือสนามที่น้อง ป. ๑ ใช้เล่น
-
-
งาม เป็น ความงาม
ลักษณนาม คือ คำนามที่แสดงลักษณะของคำนามข้างหน้า โดยมากจะอยู่หลังตัวเลข หรือ มีคำที่บอกจำนวน ประกอบอยู่ด้วย เช่น
- ภิกษุ ๙ รูป - ปลา ๑ ตัว - จักรยาน ๔ คัน
-
-
คำนาม คือ คำที่ใช้เรียกชื่อ คน สัตว์ สิ่งของ และสถานที่ ต่างๆ เช่น พ่อ แม่ เด็ก นก ปลา บ้าน หนังสือ โรงเรียน เป็นต้น
สามานยนาม คือ คำนามที่ใช้เรียกชื่อคน สัตว์ สิ่งของ เครื่องใช้ และสถานที่โดยทั่ว ๆ ไป เช่น นักเรียน ครู ช้าง พัดลม แม่น้ำ ภูเขา เป็นต้น
สามานยนาม คือ คำนามที่ใช้เรียกชื่อคน สัตว์ สิ่งของ เครื่องใช้ และสถานที่โดยเฉพาะเจาะจง เช่น ยิ่งลักษน์ ชินวัตร ประเทศไทย จังหวัดบุรีรัมย์ โรงพยาบาลตำรวจ
-
-
-
เชื่อมความที่ขัดแย้งกัน : ถ้าประโยคหรือข้อความขัดแย้งกัน เชื่อมด้วยคำสันธาน แต่ว่า แต่ทว่า ถึง..........ก็ กว่า..........ก็
-
-
-
คำบุพบท คือ คำที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างคำ ข้อความหรือประโยค เพื่อให้ความต่อเนื่องกัน และช่วยให้ข้อความนั้นชัดเจนยิ่งขึ้น
-
-
-
-
-
คำกริยา คือ คำที่แสดงอาการของนามหรือสรรพนาม ซึ่งเป็นประธานในประโยค เพื่อให้ทราบว่าภาคประธานนั้นทำอะไร มีกริยาอาการอย่างไร
-
คำอุทานเสริมบท เป็นคำอุทานที่เสริมกับคำเดิมเพื่อให้เสียงของคำสละสลวย หรือเสริมความหมายให้ชัดเจนยิ่งขึ้น ซึ่งคำที่ใช้เสริมนี้ไม่มีความหมายอะไร คำอุทานพวกนี้ไม่ใส่เครื่องหมายอัศเจรีย์ (!) แบ่งได้เป็น ๒ พวก คือ
๒.๑ คำเสริมที่เสริมกลางคำหรือเสริมเพื่อเล่นสำนวนให้คล้องจองกัน เช่น วัดวาอาราม สิงสาราสัตว์ พิธีรีตอง ลดราวาศอก เป็นต้น
๒.๒ คำเสริมที่เลียนเสียงคำเดิม เช่น หนังสือหนังหา กระดูกกระเดี้ยว อาบน้ำอาบท่า ลืมหูลืมตา หมดเรี่ยวหมดแรง มือไม้ หยูกยา เป็นต้น
คำอุทาน คือ คำที่ใช้แสดงอารมณ์หรือความรู้สึกของผู้พูด ซึ่งอาจจะเปล่งเสียงออกมาโดยไม่ตั้งใจ หรืออาจตั้งใจเพื่อเน้นประโยคให้น่าสนใจยิ่งขึ้นก็ได้
คำอุทานบอกอาการ เป็นคำอุทานที่ใช้แสดงอารมณ์และความรู้สึกต่าง ๆ คำอุทานประเภทนี้ มักใช้เครื่องหมายอัศเจรีย์ (!) กำกับ เพื่อให้ผู้อ่านออกเสียงได้ถูกต้อง ซึ่งคำอุทานบอกอาการนี้มีหลายชนิด เช่น อาการดีใจ เสียใจ ตกใจ แปลกใจ เข้าใจ หรือคำที่แสดงให้รู้ว่ามีเสียงดังผิดปกติ เช่น แป๊ด ! แอ่น-แอ๊น ! เป็นต้น
คำวิเศษณ์ คือ คำที่มีความหมายบ่งชี้ลักษณะต่างเช่น ขนาด สัณฐาน (รูปทรง) สี กลิ่น รส นอกจากนี้ยังบ่งชี้ สถานที่ ปริมาณ จำนวน ฯลฯ
-
-
-
-
ประติเษธวิเศษณ์ คือ คำวิเศษณ์ที่แสดงความปฏิเสธ หรือไม่ยอมรับ เช่น ไม่ ไม่ใช่ มิ มิใช่ ไม่ได้ หามิได้
-
-
-
-
ประพันธวิเศษณ์ คือ คำวิเศษณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมคำหรือประโยคให้มีความเกี่ยวข้องกัน เช่นคำว่า ที่ ซึ่ง อัน อย่าง ที่ว่า เพื่อว่า ให้