Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะช็อค(Shock) นางสาวสุกัญญา ชาติวงศ์ 6201110801036 - Coggle Diagram
ภาวะช็อค(Shock) นางสาวสุกัญญา ชาติวงศ์ 6201110801036
ประสิทธิภาพของหัวใจและระบบไหลเวียนขึ้นอยู่กับ 3 ปัจจัย
1.PrelodeหรือVenous return
2.Contractility
3.Systemic Venouseresistance
ช็อคแบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ๆได้ 3 กลุ่ม
1.Hypovolemic Shock มีสาเหตุจากการเสียเลือด
2.Cardiogenic Shock มีสาเหตุมาจากการทำงานของ หัวใจในการสูบฉีดเลือดผิดปกติ
3.Vasogenic shock มีสาเหตุมาจากการขยายตัวของ หลอดเลือดส่วนปลาย
ระยะของภาวะช็อค
ระยะปรับตัวได้ ( Compensated shock )
ระยะที่ปรับตัวไม่สำเร็จ ( Decompensate shock )
ระยะไม่ฟื้น ( Irreverible shock)
ระดับความรุนแรงของ Hemorrhagic shock
Mild shock ( เสียเลือดในปริมาณที่น้อยกว่า 20% ของ Blood volume )
Moderate shock (เสียเลือด 20 - 40% ของ Blood volume )
Severe shock ( เสียเลือดมากกว่า 40% ของ Blood volume )
ถ้าเป็นการเสียน้ำในร่างกาย
ท้องเสียหรืออาเจียนอย่างรุนแรง
หรือจาก Third space loss ร่างกายจะเสียทั้งน้ำและสารElectrolyte ภาวะShock จะเกิดขึ้นเมื่อเสียนเกินร้อยละ8ของน้ำหนักตัว
ความหมาย
ภาวะช็อค คือ
ภาวะผิดปกติของระบบไหลเวียนทำให้เนื้อเยื่อ ในร่างกายได้รับเลือดไม่พอเพียง
เนื้อเยื่อจึงขาดออกซิเจนและอาหาร และไม่เพียงพอที่จะรับ ของเสียออกจากกระบวนการ Metabolism ออกจากเซลล์
ช็อค คือ
ภาวะของร่างกายที่มีการไหลเวียนเลือดลดลงต่ำผิดปกติ ส่งผลให้การสูบฉีดเลือด ไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ในร่างกายไม่เพียงพอ ทำให้เซลล์และอวัยวะเสียหายจากการ ขาดเลือดที่เป็นตัวนำออกซิเจนและสารอาหาร
ภาวะช็อค ถือเป็น
ภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์
สาเหตุการเสียชีวติ
ผลของภาวะช็อคมีหลายอย่าง ทั้งหมดสัมพันธ์กับภาวะ
ซึ่งระบบไหลเวียนโลหิตทำหน้าที่ได้ไม่เพียงพอ
เช่น อาจทำให้มีออกซิเจนในเลือดต่ำหรือหัวใจหยุดเต้นได้
คนปกติมีเลือดประมาณร้อยละ 8 ของน้ำหนักตัว คือ
ผู้ใหญ่ประมาณ 4-5ลิตร(คิดจากน้ำหนักตัว 50 ก.ก.) ร้อยละ10ของเส้นเลือด อยู่ในเส้นเลือดแดง ร้อยละ 20 อยู่ในเส้นเลือดฝอย และอีกร้อยละ 60 -70 อยู่ในเส้นเลือดดำและในหัวใจ
หัวใจปกติสูบฉีดเลือดครั้งละ 70 – 90 มล. และมี Cardiac output ประมาณ 5 ลิตร/นาที
พยาธิสรีรวิทยา
ระบบไหลเวียนและ Venous return ลดลงมาก ( Hypovolemic shock )
หัวใจทงานไม่เต็มที่ ( Cardiogenic shock )
Systemic vascular resistance ตจาก vasodilatation ซึ่งทำให้เลือดตกค้าง ( pooling )อยู่ใน microcirculation ( เช่น Septic shock ) หรือใน Capacitance vessel (เช่น Neurogenic shock )
การวินิจฉัย
•ผู้ป่วยมักจะมีประวัติการเสียเลือดหรือน้ำชัดเจน ลักษณะของผู้ป่วยที่เป็น Hemorrhagic shock ขึ้น อยู่กับความรุนแรงของการเสียเลือดหรือน้ำ
การกระตุ้นระบบ Sympathetic และ peripheral vasoconstriction
ชีพจรเต้นเร็วและเบา ในระยะแรกผู้ป่วยมีอาการกระสับ กระส่าย แต่เมื่อสมองขาดเลือดมากขึ้นผู้ป่วยจะสลึมสลือและ อาจหมดสติ
ทำให้มือเท้าเย็น ซีดและชื้นจากเหงื่อ ผิวหนังมี peripheral cyanosis และ capillary return ใต้เล็บช้าลง
ผู้ป่วยหายใจถี่ขึ้นจาก metabolic acidosis ความดันโลหิตมักจะต่ำในผู้ป่วยอาการหนัก หรืออาจวัดไม่ได้เลย แต่ช็อกอาจเกิดขึ้นได้ในขณะที่ความดันโลหิตยังอยู่ในระดับปกติ
ถ้าผู้ป่วยมี vasomotor tone ดี เช่น ในคนอายุน้อยและ เส้นเลือดยังหดตัวได้ดี ปัสสาวะจะออกน้อย
และมีสีเข้ม ค่า specific gravity จะสูงกว่า 1.018 ถ้าไตยังไม่วาย
ระดับ central venous pressure ( CVP ) จะต่ำ เพราะ Venous return ลดลง
• การวินิจฉัย third space loss เช่น มีPeritonitis, Cellulitis , Burns ต้องอาศัยการตรวจร่างกายอย่างละเอียด
ในรายที่เสียน้ำและเกลือแร่ hematocrit จะสูงขึ้น จาก Hemo-concentration
ส่วนใน acute hemorrhage ระดับ hematocrit จะเป็นปกติในระยะแรก และจะค่อยๆตลง จาก Hemodilution เพราะร่างกายชดเชยปริมาตรในระบบไหลเวียนได้เร็วกว่าเม็ดเลือดแดง