Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที 1 มโนทัศน์ของความผิดปกติทางสุขภาพจิตและจิตเวช, น.ส.เปมิกา เพิ่มชีวา…
บทที 1
มโนทัศน์ของความผิดปกติทางสุขภาพจิตและจิตเวช
แนวคิดการเกิดโรคทางจิตเวชและปจจัยทีมีความ
1.1 แนวคิดการเกิด โรคทางจิตเวช
โรคทางจิตเวชมี2 แนวคิด
1) stress diathesis model อธิบายว่า การมียีนส์หรือการรวมกัน ทางพันธุกรรมทีเฉพาะเจาะจง บางอย่างส่งผลให้เกิดจุดอ่อน หรือเปนปจจัย เสียงให้เกิดโรคได้ เมือจุดอ่อนทางพันธุกรรมถูกกระตุ้นด้วยปจจัยบาง
ประการหรือสถานการณ์ความเครียด ก็จะก่อให้เกิดพฤติกรรมทีผิดปกติได้ โดยบุคคลจะมีจุดอ่อนทางพันธุกรรมหรือ
2) case formulationเปนการขยายมุมมองจาก stress diathesis model ให้เปนภาพทีกว้างขึน โดย พิจารณาปจจัย 4 ประการ
ปจจัยเสียง (predisposing factors) หมายถึง สถานการณ์ สิงแวดล้อม หรือ สิงทีแฝงอยู่ในตัว บุคคล ทีน่าจะนําไปสู่การ เกิดความผิดปกติของ โรคทาง จิตเวชก่อนที จะปรากฏความผิดปกติของจิตเวชขึน เช่น พันธุกรรม, ภาวะ โภชนาการ, การเลียงดู, บุคคลิกภาพ, ประการณ์การเจ็บปวยทางกาย, รายได้
ปจจัยกระตุ้นให้เกิดอาการ (precipitating factors) หมายถึง สถานการณ์ สิงแวดล้อมภายนอก ทีทําให้บุคคลเริมปรากฏความผิดปกติของ โรคทางจิตเวชขึน เช่น การใช้สารเสพติด, การนอนทีหลับเปลียนแปลง,การ สอบตก, สัมพันธภาพล้มเหลว (แฟนทิง/หย่า/แยกกัน), การมีหนีสิน
ปัจจัยทีทําให้อาการคงอยู่ (perpetuating factors) หมายถึง สถานการณ์สิงแวดล้อมความเชือทัศนคติหรือพฤติกรรมของบุคคลทีทําให้ อาการความผิดปกติของโรคทางจิตเวชทีเกิดขึนยังไม่หายไปหรือไม่ดีขึน เช่น การไม่ได้รับการรักษา, การไม่รับประทานยาต่อเนือง, รู้สึกผิดใน เรืองทีตนเองทําผิด,การไม่ยอมรับ ความเจ็บปวย, ขาดแหล่งช่วยเหลือทางสังคม, พฤติกรรมการใช้ยาเสพติดอย่างต่อเนือง
ปัจจัยปกป้อง (protective factors) หมายถึง สถานการณ์ สิง แวดล้อม ความเชือทัศนคติหรือ พฤติกรรมของบุคคลทีช่วยให้บุคคลปรับตัว ต่อสถานการณ์ สิงแวดล้อม ทีผลต่ออาการความผิดปกติของโรคทางจิตเวช ทีมีไม่ให้รุนแรงหรือช่วยให้ความผิดปกตินันหายคืนสู่สภาพปกติเช่นมีงานทํา , ครอบครัวมีสัมพันธภาพทีดีห่วงใยดูแล ซึงกันและกัน, การมีความสามารถ ในการแก้ไขปญหา,
1.2 ปจจัยทีมีความเกียวข้องกับการเกิดโรคทางจิตเวช
1) ปจจัยทางกายหรือชีวภาพ (biological factors) คือ ปจจัย สาเหตุทางด้านร่างกายทีส่งผลให้เกิดโรค ทางจิตเวช
-การทําหน้าทีผิดปกติของสารสือประสาท (neurotransmitter) ซึงปกติเซลล์ประสาทจะถ่ายทอด สัญญาณประสาทต่อกันโดยอาศัย กระบวนการถ่ายทอดสัญญาณผ่านสัมผัสทีเรียกว่า (synapse transmission) และ จะถูกปลดปล่อยออกมาสู่ synaptic space ซึงสารสือประสาท ทีมีผลต่อการเกิด ความ ผิดปกติของพฤติกรรมและเกิดอาการทางจิตเวชทีสําคัญได้แก่ dopamine, serotonin, norepinephrine, GABA, acetylcholine
• dopamineเป็นสารสือประสาททีทําหน้าทีทีเกียวข้องกับการ เคลือนไหวทีไม่อยู่ในการ ควบคุมจากอํานาจของจิตใจ ช่วยในการตัดสินใจ การใช้เหตุผล การรู้จักตนเอง ถ้าบุคคลมีระดับของ dopamine มากเกินไป จะมีความสัมพันธ์กับการปวยเปนโรคจิตเภท (schizophrenia),การมีอาการ
คลุ้มคลัง(mania) และหาก ระดับของ dopamine น้อยเกินไปจะสัมพันธ์กับ การเกิดโรคซึมเศร้า (depressive illness)
• serotonin เปนสารสือประสาททีทําหน้าทีเกียวข้องกับวงจร ของการหลับและตืน, การ ควบคุมความรู้สึกอยากอาหาร,การรับรู้ความเจ็บ ปวดของบุคคล, ระดับของ serotoninจะมีความสัมพันธ์กับโรค อารมณ์ แปรปรวน (mood disorder), โรคยาคิดยาทํา (obsessivecompulsive disorder) และโรคจิตเภท (schizophrenia)
• norepinephrineเปนสารสือประสาททีทําหน้าทีเกียวกับการ ตอบสนองต่อสถานการณ์ที ก่อให้เกิดความเครียด การแสดงอารมณ์เมือถูก กระตุ้นจากสิงเร้าต่างๆระดับของ norepinephrine มากเกินไปจะมีส่วนเกียวข้องกับโรควิตกกังวล (anxietydisorder),โรคอารมณ์แปรปรวน(mooddisorder)ทีแสดงอาการ คลุ้มคลัง ถ้ามีnorepinephrineในระดับน้อยจะสัมพันธ์กับการเกิดภาวะซึม เศร้าได้
• GABA (gamma amino butyric acid) เปนสารสือประสาท ทีทําหน้าทีในการยับยังการ ตอบสนองของระบบประสาททีมากเกินไป ทําให้ เกิดภาวะสมดุลพบว่าในผู้ปวยโรคชัก(seizure disorder) และโรค วิตกกังวล (anxiety disorder) จะมีปริมาณของ GABA ลดลงกว่าปกติ
• acetylcholine เปนสารสือประสาททีทําหน้าทีเกียวข้องกับ การเคลือนไหว และความจํา พบมากในบริเวณฐานสมองส่วนหน้า (base of frontallobes)หากผู้ปวยมีการสูญเสียเซลส์ประสาทบริเวณนีจะทําให้ระดับ ของ acetylcholine ลดลง เช่น ในผู้ปวยอัลไซเมอร์ ถ้ามีความผิดปกติของสาร monoamine oxides จะ ทําให้เกิดพฤติกรรมแปรปรวนได้ การรักษาจึงใช้ วิธีการไปยับยังสาร monoamine oxides
พันธุกรรม (genetics) พบว่า บุตรของผู้ปวยโรคจิตเภทจะมี
อัตราเกิดโรคจิตเภทได้สูงกว่าบุคคล ทัวไป และในคู่แฝดของผู้ปวยโรคจิต จากไข่ใบเดียวกันจะมีโอกาสเปนโรคจิต
ความผิดปกติของโครงสร้างและการทํางานของสมอง เช่น ใน การตรวจโครงสร้างและการทํางาน ของสมองในผู้ปวยจิตเภทด้วย computed tomography (CT) และการตรวจด้วย magnetic resonance imaging (MR)
-ความผิดปกติทีมีมาแต่กําเนิด(congenitalabnormal)อาจเกิด ได้ตังแต่ในระยะทีอยู่ในครรภ์มารดาซึงทําให้พัฒนาการของโครงสร้างระบบ ประสาทผิดปกติไป มักเกิดจากการติดเชือหรือภาวะแทรกซ้อนต่างๆ
ความผิดปกติของฮอร์โมนในร่างกาย (hormonal factor) พบ ว่า ความผิดปกติจากการทํางาน ของต่อมไร้ท่อ ทําให้มีการผลิตฮอร์โมนมาก หรือน้อยเกินไปเช่นฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตทีน้อยเกินไปในผู้ปวยโรคแอดิ สัน (Addison’s disease) จะมีอาการซึมเศร้า เฉยเมย และอ่อนล้าบางรายมี อาการทางจิตร่วมด้วย
การสะสมของสารพิษภายในร่างกาย (toxic substance alcoholism) จากการทีร่างกายได้รับ สารเคมีหรือสารเสพติด
ความเจ็บปวยหรือโรคทางสมอง เช่น สมองอักเสบ, เยือหุ้ม สมองอักเสบ, ชิฟลิสขึนสมอง, อันตรายทีเกิดขึนทีศีรษะอย่างรุนแรงทําให้ สมองขาดเลือดไปเลียงหรือมีเลือดคังในสมอง
2) ปจจัยทางด้านจิตใจ (psychological factors) คือ ปจจัยทีเปน สาเหตุจากภายในของมนุษย์ทีส่งผล ให้เกิดปญหาสุขภาพจิตหรือโรคทางจิต
ซึงส่วนใหญ่มักเปนผลมาจากการเลียงดูความคิดความเชือทีมีอยู่ในตัวมนุษย์ และประมวลมาเปนแบบแผนของบุคลิกภาพ หรือพฤติกรรมทีใช้ในการปรับ ตัวเมือต้องเผชิญกับปญหาต่างๆของชีวิต
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์มองว่า ปญหาสุขภาพจิต บุคลิกภาพ และ พฤติกรรมทีผิดปกติของมนุษย์มี สาเหตุมาจากการทํางานของโครงสร้าง บุคลิกภาพทีไม่สมดุลกัน(Id,EgoและSuperego)และหากEgoมีพลังเข้ม แข็งพอก็จะช่วยทําให้บุคคลสามารถเผชิญปญหาชีวิตได้อย่างสมเหตุผล
ทฤษฎีกลุ่มมนุษยนิยม มองว่าปญหาสุขภาพจิต บุคลิกภาพและ พฤติกรรมทีผิดปกติของมนุษย์มี สาเหตุมาจากความไม่รู้ไม่เข้าใจปญหาทีแท้ จริงของตนเอง ขาดความตระหนักรู้หรือยอมรับตนเองและสิงแวดล้อมตาม ความเปนจริง
ทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยม มองว่าปญหสุขภาพจิต บุคลิกภาพ และพฤติกรรมทีผิดปกติของมนุษย์ มีสาเหตุมาจาก ประสบการณ์ของมนุษย์ ทีผ่านการเรียนรู้การตอบสนองต่อสิงเร้าในสภาวะสิงแวดล้อมต่างๆในช่วง ชีวิตทีผ่านมาซึงจะกระตุ้นให้มนุษย์แสดงพฤติกรรมนันออกมาซาๆจนกลาย เปนความเคยชินหรือเปนนิสัย
ทฤษฎีกลุ่มปญญานิยม มองปญหาสุขภาพจิต บุคลิกภาพ และ พฤติกรรมทีผิดปกติของมนุษย์มี สาเหตุมาจากความคิด ความเชือทีผิดปกติ หรือไม่สมเหตุสมผลขอมนุษย์ทําให้มนุษย์มีข้อจํากัด และบีบคันตนเอง ตัดสินพฤติกรรมในภาพรวม ไม่คํานึงถึงข้อมูลทีเปนจริง จึงทําให้ชีวิตไม่มี ความสุขและเกิดปญหาสุขภาพจิตได้ในทีสุด
3) ปจจัยทางด้านสังคม (social factors) คือปจจัยทีเปนสาเหตุจาก ลักษณะสิงแวดล้อมทางกายภาพ การอบรมเลียงดูและความรักใคร่ใน ครอบครัว การศึกษา ปจจัยทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรม การเมือง และ ศาสนา
สิงแวดล้อมทางกายภาพ ได้แก่ บริเวณทีตังของทีอยู่อาศัย ลักษณะของชุมชนข้างเคียง ความ หนาแน่นของชุมชน ซึงย่อมมีความแตก ต่างกันทังในสภาพความเปนอยู่ทีสะอาด ปลอดภัย ความสะดวกในการ ติดต่อสือสารและการคมนาคม สภาพภูมิอากาศ และภูมิประเทศ
ความสัมพันธ์ในครอบครัว ครอบครัวทีอบอุ่น สมาชิกใน ครอบครัวก็จะมีความรู้สึกมันคงปลอดภัย และไว้วางใจต่อกัน เมือประสบ ปญหาก็จะช่วยเหลือ สนับสนุน และ เกือกูลกัน ครอบครัวแตกแยก หรือต่าง คนต่างอยู่ ขาดความรักความผูกพันกันสมาชิกในครอบครัวจะรู้สึกโดดเดียว ในการดําเนินชีวิต
ลักษณะการอบรมเลียงดู
• การอบรมเลียงดูแบบเผด็จการ (authoritarian) ทําให้เด็กจะขาดความใกล้ ชิดกับ ผู้ปกครอง ไม่กล้าโต้แยัง ขาดความคิดริเริมสร้างสรรค์ ขาดความเชือ มันในตัวเอง บางครังดือเงียบ และก้าวร้าว
• การอบรมเลียงดูแบบปล่อยปละละเลย (rejection) ทําให้ เด็กขาดโอกาส และขาดทีพึง ในการเผชิญชีวิตเด็กอาจรู้สึกขาดความรักความ
อบอุ่นส่งผลให้เด็กขาดระเบียบวินัย
• การอบรมเลียงดูแบบทนุถนอมมากเกินไป (overprotection)ทําให้เด็กเอาแต่ใจตนเองไม่อดทนต่อความยากลําบากไม่ ต่อสู้ชีวิต ขาดความเชือมันในตนเอง ไม่กล้าตัดสินใจ ต้องคอยพึงผู้อืนโดยไม่ จําเปน
• การอบรมเลียงดูแบบประชาธิปไตย (democracy) จะ ทําให้เด็กมีความสามารถในการ ปรับตัวได้ดีโดยพ่อและแม่จะเลียงดูแบบใช้ เหตุผล ฝกให้เด็กมีส่วนร่วมในทํากิจกรรมของครอบครัว พ่อแม่จะอบรม สัง สอนให้รู้จักบทบาทหน้าทีของตนเองและสังคมฝึกให้เด็กงความ คิดเห็น และมีเหตุผล กล้าคิด กล้า ตัดสินใจ มีความเชือมันในตนเอง รู้สึกถึง คุณค่าในตนเอง
การศึกษา การขาดการศึกษา การศึกษาในภาวะทีต้องมีการ แข่งขันกันสูง หรือเด็กถูกบังคับให้ เรียนในสิงทีไม่ชอบ
เศรษฐกิจและสังคม ปญหาทางด้านการเงินหรือความยากจน หรือบุคคลทีมีฐานะดีแต่ยังไม่รู้จัก พอต้องดินรนหาเงินต่อไป
วัฒนธรรม วัฒนธรรในแต่ละเชือชาติทีแตกต่างกันบางอย่างก็ ทําให้มนุษย์เกิดความเครียด ขัดแย้ง และความคับข้องใจได้
การเมือง การเปลียนแปลงผู้นําทางการเมืองการปกครอง มีการ ปฏิวัติรัฐประหาร ความขัดแย้ง ทางการเมือง
4) ปจจัยทางจิตวิญญาณ (spiritual factors)
ปรัชญาชีวิต (philosophy of life) เปนแนวคิดทีสําคัญใน ดําเนินชีวิต เปนการให้ความหมายแก่ สิงทีสําคัญในชีวิต สะท้อนออกมาให้ เห็นได้ในพฤติกรรมบางอย่างของมนุษย์
สิงทีนับถือหรือทีพึงทางใจ (concept of deity) ได้แก่ ศาสนา หรือสิงทีบุคคลเลือมใสศรัทธา
2.อาการวิทยาและเกณฑ์การจําแนกโรคทางจิตเวช
ก่อนทีจะเข้าใจเกียวกับโรคทางจิตเวช (psychiatric disorder หรือ mental disorder) ชนิดต่าง ๆ ควร ทําความเข้าใจนิยามเกียวกับอาการแสดง (signs), อาการ (symptoms), กลุ่มอาการ (syndrome)
1) อาการแสดง (signs) คือ สิงทีผู้ตรวจได้จากการสังเกตและทําการตรวจ เช่น การแสดงออก ทางสี หน้าทีจํากัด (restricted affect) การเคลือนไหวร่างกายอย่างเชืองช้า
2) อาการ (symptoms) คือ ประสบการณ์ทีผู้ ปวยได้รับ ซึงจะถูกบอกเล่าโดยผู้ปวยเอง ได้แก่ มีอารมณ์ เศร้า รู้สึกหมด เรียวแรง
3) กลุ่มอาการ (syndrome) คือ อาการและอาการแสดงหลาย ๆ อย่างทีพบร่วมกัน แล้วถูกเรียกด้วย ชือเฉพาะกลุ่มอาการ กลุ่มอาการหนึง ๆ อาจพบได้ในหลายโรค
4) โรคทางจิตเวช (psychiatric disorder หรือ mental disorder) หมายถึง กลุ่มอาการและอาการ แสดงทีเปนความผิดปกติของพุทธิปญญา (cognition) การควบคุมอารมณ์ (mood) หรือพฤติกรรม (behavior) ที สะท้อนถึงความผิดปกติทางจิต (psychological) ทางชีววิทยา (biological) หรือกระบวนการทางพัฒนาการ (developmentalprocess)ซึงส่งผลให้การ ทําหน้าทีทางจิตมีความบกพร่อง กลุ่มของ mental disorder
2.1 กลุ่มของอาการและอาการแสดงทางจิตเวช
1) ความผิดปกติของความรู้สึกตัว (disturbance of consciousness )ความรู้สึกตัว (consciousness)
ชนิดที1 ความผิดปกติของระดับความรู้สึกตัว (disturbanceof level of consciousness) ทีเกิดจาก สมองมีพยาธิสภาพ
coma สภาวะทีไม่รู้สึกตัว (unconsciousness) อย่างรุนแรง
clouding of consciousness ความรู้สึกตัวไม่สมบูรณ์ร่วมกับมีการ รับรู้และการแสดง ออกผิดปกติด้วย
disorientation ความบกพร่องของการตระหนักรู้ถึงตนเอง เวลา สถานที และบุคคล (orientation)
drowsiness ความสามารถในการตระหนักรู้ลดลงเพราะง่วง นอน
somnolence อาการง่วงมากผิดปกติแต่หากได้รับการกระ ตุ้นก็จะกลับมาตืนและรู้สึกตัว - stupor ไม่สามารถ ตระหนักรู้และตอบสนองต่อสิงแวดล้อม
sundowning ลักษณะทีอาการทางจิต ปัญหาพฤติกรม หรือ ความรู้สึกตัวเปลียนแปลงไป โดยฉพาะเมือเปนเวลาช่วงหัวคาหรือกลางคืน มักปนลักษณะทีพบใน delirium
ชนิดที2 ความผิดปกติของการคงความใส่ใจ (disturbance of attention)ความใส่ใจ(attention)
distractibility ไม่สามารถพุ่งความสนใจในสิงทีสําคัญได้ แต่ กลับไปใส่ใจกับสิงเร้าทีไม่สําคัญ หรือไม่เกียวข้อง
hypervigilance สนใจและมุ่งความสนใจในสิงเร้าทุกอย่าง ไม่ ว่าจะเปนสิงเร้าทีมาจากภายนอก หรือจากภายในร่างกาย มักเกิดจากอาการ หลงผิดหรือมาจากอาการระแวง
trance ความใส่ใจจะถูกรวมไว้ทีจุดเดียว ร่วมกับมีความไม่ต่อ เนืองของระดับความรู้สึกตัวมักพบ ในการสะกดจิต และ dissociative disorder
ชนิดที 3 ความผิดปกติของการถูกชักจูง (disturbance of suggestibility) การถูกชักจูง
folie a deux ภาวะทีบุคคลสองคนมีความผิดปกติทางจิตร่วม กัน โดยมีความหลงผิดทีเปนเนือหา ของเรืองเดียวกัน หากพบร่วมกันสามคน จะเรียกว folie a trois หรือshared psychotic disorder
hypnosis ภาวะทีมีการชักนําให้บุคคลมีระดับความรู้สึกตัว เปลียนแปลงไป ร่วมกับทําให้ถูกชักจูง และทําตามคําสังได้ง่าย
2) ความผิดปกติของพฤติกรรมการเคลือนไหว (disturbanceof motor behavior)
abulia การไม่มีเจตจํานง (amotivation) ไม่คิดริเริม ไม่ทําอะไร และไม่คํานึงถึงผลทีเกิดมักเกิด จากการมีพยาธิสภาพของระบบประสาท อาจพบได้ในกลุ่มโรคจิตหรือโรคซึมเศร้า
acting out เปนการกระทําอย่างวู่วาม เปนการตอบสนองต่อ แรงขับจากจิตไร้สํานึกหรือความตึง เครียดภายใน เมือกระทําแล้วช่วยให้ จิตใจสบายขึน
aggression คือ การเคลือนไหวด้วยความก้าวร้าว ซึงมักเกิดร่วม กับอารมณ์โกรธเดือดดาล ต่อต้าน หรือเปนศัตรู พบได้บ่อยในโรคทางระบบ ประสาทและโรคทางจิตเวชในกลุ่มโรคทางอารมณ์และโรคจิต
automatism การเคลือนไหวทีเปนไปตามจิตไร้สํานึก (unconscious system) และเปน สัญลักษณ์ (symbolism) ของบางสิงบางอย่างในระดับจิตไร้สํานึก สามารถ พบได้ใน complex partial seizure - catatonia คือ การเคลือนไหวทีผิดปกติ อาจจะเกิดจากโรคทางจิตเวชหรือโรคทางสมองก็ได้ อาการผิดปกติของการ เคลือนไหวแบบ catatoni
• catalepsy การหยุดนิงในท่าใดท่าหนึงทีขัดกับแรงโน้มถ่วงเปน เวลานาน
• catatonic excitement มีการเคลือนไหวมากแบบควบคุม ตนเองไม่ได้ ร่วมกับมีลักษณะ กระสับกระส่าย (agitation) เปนการ เคลือนไหวแบบไม่มีจุดมุ่งหมายและไม่อยู่ภายใต้อิทธิพลของสิงเร้าภายนอก
• catatonic stupor มีการเคลือนไหวน้อยมากจนแทบจะหยุดนิง ร่วมกับมี ลักษณะของการ ไม่ตระหนักรู้ต่อสิงกระตุ้นรอบ ๆ ตัว
• catatonic rigidity การจงใจทําตัวแข็งทือและต่อต้านแรงทีจะมาทําให้เกิด การเคลือนไหว
• catatonic posturing การเปลียนไปอยู่ในท่าทีประหลาด หรือไม่เหมาะสม ขัดกับแรงโน้ม ถ่วงและค้างอยู่ในท่านันเปนเวลานาน ๆ
• catatonic flexibilities (waxy flexibility) การทีค้างอยู่ในท่า ทีจัดไว้ โดยมีแรงต้านเมือถูก จัดท่าโดยผู้ตรวจ เหมือนหุ่นชีผึงทีถูกปน
• echopraxia การทําท่าทางเลียนแบบท่าทางของบุคคลอืน
• mannerism แสดงท่าทีทีแปลก ดูมีจริตเกินจริง
• negativism อาการต่อต้านต่อคําสังทุกคําสัง ซึงเปนการต่อต้านโดย ไม่มีจุดมุ่งหมาย
• stereotypy มีการเคลือนไหวซา ๆ ทีไม่มีเปาหมายและไม่มี ประโยชน์
-cataplexyความตึงตัวของกล้ามเนือหายไปอย่างฉับพลันทําให้ เกิดการอ่อนแรงขยับตัวไม่ได้ ตามด้วยอาการง่วงนอน เปนอาการทีเกิดขึน เพียงชัวคราวมักพบในโรค ลมหลับ (narcolepsy)
-commandautomatismหรือautomaticobedienceการทํา ตามคําชักจูงอย่างอัตโนมัติ อาจ เปนจากเสียงแว่วจากข้างในตัวเอง (inner voice) ทีพบในโรคจิตเภทหรือเปนคําสังจากบุคคลอืน เช่น การถูกสะกด จิต
mutism ไม่พูดหรือพูดไม่ได้ โดยไม่ได้มีความผิดปกติของ อวัยวะทีเกียวข้อง สาเหตุเปนได้จากทัง ทางจิตและทางกาย
motor overactivity การเคลือนไหวมากเกินไป มีหลายชนิด
• akathisia รู้สึกตึงกล้ามเนือจนต้องขยับบ่อย ๆ ทําให้ผู้ปวย กระสับกระส่าย ผุดลุกผุดนัง เดิน ไปเดินมา
• tic การกระตุกของกล้มเนือแบบ repetitive และ ไม่มี จังหวะชัดเจน (nonrhythmic) โดย ไม่สามารถบังคับได้
• compulsion การยาทํา คือมีการทําซา ๆ แบบไม่สมารถหัก ห้ามได้ ถ้าผู้ปวยไม่ทําก็จะเกิด ความวิตกกังวลขึน
• hypoactivity หรือ hypokinesis มีกิจกรรมที เปนการเคลือนไหวและพุทธิปญญาทํางาน ลดลง ทําให้คิดและพูดช้าลง บาง ครังเรียกว่า psychomotor retardation
3) ความผิดปกติของการพูด(disturbance of speech)การพูด เปนการสือสารความคิดและความรู้สึก โดยใช้ภาษา ความผิดปกติของการพูด มีหลายขนิด
1) cluttering พูดเปนจังหวะติด ๆ ขัด ๆ มีช่วงทีพูดเร็วและ กระตุกไปกระตุกมา
2) dysarthria ความผิดปกติในการเปล่งเสียงพูด โดยไม่ได้มี ความผิดปกติของการนึกคําพูดหรือการ สร้างประโยคตามหลักไวยกรณ์
3) dysprosody กรพูดแบบไม่มีเสียงขึนลงตามลักษณะปกติของ การพูด เช่น การพูดของบุคคลทีมี โรคซึมเศร้า
4) nonspontaneous speech กรพูดเฉพาะเวลาถูกถามหรือถูก พูดด้วยโดยตรง ไม่เริมพูดเองก่อน
5) poverty of speech การพูดมีปริมาณ คําน้อยมาก อาจตอบคําถามด้วยคําพยางค์เดียว
6) poverty of content of speech การพูดมีเนือความน้อยแม้ปริมาณคําในการพูดเพียงพอ อาจ เกิด จากพูดคลุมเครือ พูดไม่มีสาระหรือพูดแบบซา ๆ
7) pressure of speech พูดมาก พูดเร็ว และเร่งขึนเรือย ๆ และ มักพบว่าพูดเสียงดังด้วย
8) stuttering คือ พูดติดอ่าง เปนการพูดซาเสียง เดิม ซาคําเดิม ทําเสียงยานคางหรืออึกอักอยู่นาน กว่าจะพูด ทําให้การพูดไม่ ลืนไหล
9) volubility หรือ logorrhea พูดมากและพูดเร็วอัดกันโดยที เนือหาเชือมโยงกันและฟงเข้าใจได้ คือ พูดมากอย่างควบคุมไม่ได้ มักพบในผู้ ปวยทีกําลังมี manic episode
4) ความผิดปกติของอารมณ์ (disturbance of emotion)
1) ความผิดปกติของอารมณ์ทีแสดงออก (disturbance of affect) affect คือ สภาวะอารมณ์ที ปรากให้ผู้อืนสังกตได้ ลักษณะของ affect
appropriate affect การแสดงออกของอารมณ์เข้าได้กับ เนือหาความคิดและลักษณะการพูด เปนการแสดงออทางอามณ์ทีสมเหตุ สมผล หรือสอดคล้องกับเหตุการณ์ในขณะนัน
blunted affect ความเข้มข้นของอารมณ์ทีแสดงออกลดลง อย่างมาก
flat affect ไม่มีหรือเกือบจะไม่มีการแสดงออกของอารมณ์ ใบหน้านิงเฉยและพูดด้วยนาเสียง ราบเรียบ
inappropriate affect การแสดงออกของอารมณ์ทีไม่ สอดคล้องกับความคิดและคําพูด ในชณะนัน
labile affect อารมณ์ทีแสดงออกเปลียนแปลงง่ายและ เปลียนแปลงอย่างรวดเร็วโดยไม่ สอดคล้องกับสิงกระตุ้นภายนอก
restricted affect หรือ constricted affect ความเข้มข้น (intensity) ของอารมณ์ที แสดงออกลดลง กล่าวคือ มีการแสดงออกทาง อารมณ์อย่างจํากัด
2)ความผิดปกติของอารมณ์(disturbanceofmood)moodคือ สภาวะอารมณ์ (emotion) ทีคงอยู่นานเปนประสบการณ์ภายในเฉพาะตัวที มีผลต่อการรับรู้และพฤติกรรมของบุคคลนัน
alexithymia มีความยากลําบากหรือไม่สามารถบรรยาย สภาพอารมณ์ของตนเอง หรือไม่
ambivalence อารมณ์สองฝกสองฝาย คือ มีอารมณ์ทีมี ลักษณะตรงกันข้าม 2 ชนิดต่อสิง เดียวกัน ในคนเดียวกัน และในเวลา เดียวกัน
anhedonia ไม่สนใจและถอนตัวจากกิจกรรมตามปกติทีเคย ทําให้มีความสุข มักเกิดร่วมกับ อารมณ์เศร้า
anxiety อารมณ์วิตกกังวล คือ ความรู้สึกหวาดหวันและไม่ สบายใจทีเกิดจากการคิดไป ล่วงหน้าว่าจะเกิดอันตราย ซึงอาจเปนอันตราย ต่อร่างกายหรืออันตรายต่อจิตใจก็ได้
apathy อารมณ์เฉยชา ไม่มีชีวิตชีวา ไม่ไยดี
depression อารมณ์เศร้า คือ สภาพจิตทีเปนความรู้สึก เศร้า โดดเดียว สินหวัง ดูหมินและ ตําหนิตนเอง
dysphoric mood อารมณ์ไม่พึงพอใจ
ecstasy ปลาบปลืมปติสุขอย่างเหลือล้น
euphoria ปลืมปติยินดีร่วมกับมีความรู้สึกฮึกเหิม (grandeur) หรือ เคลิมสุขด้วย
euthymic mood อารมณ์เปนปกติไม่เศร้าหรือร่าเริงจนเกิน ไป
expansive mood มีการแสดงออกของอารมณ์อย่างเต็มที ร่วมกับมีการประเมินความสําคัญ ของตนเองสูงเกินไปด้วย
fear สภาวะทางอารมณ์ทีตอบสนองต่ออันตรายทีมาคุกคาม
free-floating anxiety อารมณ์วิตกกังวลอย่างมากในทุก เรือง ไม่ได้กังวลเฉพาะเรืองใดเรือง หนึง
grief หรือ mounding อารมณ์เศร้าทีเกิดจากสูญเสีย
guilt รู้สึกผิด คือ สภาพจิตทีมีลักษณะตําหนิตนเองและมอง ว่าตนเองสมควรได้รับการลงโทษ - irritable mood หงุดหงิด รู้สึกรําคาญและเกิดอารมณ์โกรธได้ง่าย
mood swing อรมณ์แกว่ง อารมณ์สับเปลียนไปมาระหว่าง อารมณ์เคลิบเคลิมมีความสุขกับ อารมณ์เศร้าหรือวิตกกังวล
shame ความรู้สึกอาย คือ ความล้มเหลวในการทีจะดํารง ตนเองตามแบบทีคาดหวังได้โดย ชอบคิดไปเองว่าคนอืนจะมองตนเอง อย่างไร
5) ความผิดปกติของความคิด (disturbance of thinking
ชนิดที 1 ความผิดปกติโดยรวมของความคิด (general disturbance in form or process of thinking)
1) autistic thinking ความคิดหมกมุ่นอยู่กับโลกภายในหรือโลก ส่วนตัว โดยไม่คํานึงถึงความเปน จริง (reality) มักจะเปนความคิดแบบหลง รักตนเอง (narcissistic) ตังตนเองเปนศูนย์กลาง (egocentric)
2) illogicalthinkingการคิดแบบไม่มีหลักตรรกศาสตร์หรือคิด แบบไม่สมเหตุสมผล
3) reality testing คือ ความสามารถในการประเมิน (evaluation) และพิจารณา (judgment) สิง ต่าง ๆ ตามทีเปนจริง
ชนิดที 2 ความผิดปกติของกระบวนการคิด (disturbances in form of thought)
1) circumstantiality ความคิดอ้อมค้อมและมีราย ละเอียดมากแต่ยังกลับเข้าสู่ประเด็นได้
2) clang association ความคิดเชือม โยงกันด้วยคําพ้องเสียง เล่นคําหรือใส่ทํานองแต่ไม่ได้เชือมโยง กันด้วยเนือ ความ
4) incoherence ความคิดสะเปะสะปะ ไม่สามารถทําความเข้าใจ ได้ เนืองจากความคิดไม่ได้ เชือมโยงกันด้วยเนือหาหรือไวยากรณ์
3) flight of ideas ความคิดเปลียนจากประเด็นหนึงไปอีก ประเด็นหนึงอย่างรวดเร็วแต่ผู้ฟงสามารถ เข้าใจได้เนืองจากเนือความมี ความเชือมโยงกัน
5) loosening of association หรือ derailment คิดออกนอก ประเด็นและเนือหาความคิดไม่ เชือมโยงกัน
6) neologism ความคิดเกิดจากการผสมคําหรือวลีขึนใหม่ทีผู้ฟงไม่ สามารถเข้าใจได้
7) perseveration ไม่สามารถเปลียนการตอบสนองต่อสิงเร้าที เปลียนไปได้ หรือไม่สามารถเปลียน ประเด็นได้ หรือมีการยาคําเดิมหรือยา ความคิดเดิม
8) tangentiality ความ คิดอยู่ในหัวข้อเรืองทีสนทนาแต่ก็ไม่ตรงประเด็นนัก
9) thought blocking กระบวนการคิดทีสะดุดหยุดกลางคันและ มักจะนึกไม่ออกว่าเมือสักครู่กําลัง คิดอะไรอยู่
10) verbigeration หรือ cataphasia การซาคําหรือวลีทีไม่มี ความหมาย พบได้ในผู้ปวยจิตเภท ชนิดที 3 ความผิดปกติของ เนือหาความคิด (disturbance of content of thought)
1.delusion อาการหลงผิด คือ มีความเชืออย่างผิด ๆ โดยความเชือ นีไม่ได้เกิดจากการมีเชาว์ ปญญาบกพร่องหรือเปนความเชือตามลักษณะสังคมวัฒนรรมของบุคคลนัน ๆ และไม่สามารถแก้ไขความหลงผิดนีด้วย
bizarre delusion เนือหาของความหลงผิดมีลักษณะเหลวไหล แปลก ประหลาด
delusionof control เนือหาของความหลงผิดว่าตนเองถูก ควบคุมความตังใจ (will) ความคิด (thought) หรือความรู้สึก (feeing) ซึงถูก กระทําจากจากอิทธิพลภายนอ
• thought broadcasting หลงผิดว่าบุคคลอืนได้ยินความคิดของตนเองเสมือน ว่า ความคิดของตนเองนันถูกกระจายเสียงไปในอากาศ
• thought control หลงผิดว่าความคิดของตนเองถูกควบคุม หรือบงการโดยอํานาจอืน ๆ
• thought insertion หลงผิดว่ามีอํานาจภายนอกหรือ บุคคลอืน ๆ
• thought withdrawal หลงผิดว่าถูกดูด ถอน ลบ ความคิด ของตนเองออกไป
delusion of self-accusation หลงผิดว่าตนเองกระทําความ ผิด ทําให้รู้สึกเสียใจและสํานึก ผิดอย่างมากโดยไม่สมเหตุสผล
nihilistic delusion หลงผิดว่า ตนเอง บุคคลอืน หรือโลก ได้สูญสิน ไม่มีตัวตนหรือถึงจุดจบ
paranoid delusion ความหลงผิดทีประกอบด้วย persecutory delusion delusion of reference และ delusion of grandeur (paranoid ideation มีความหมายถึงความระแวงสงสัยทีไม่รุนแรงถึงขัน หลง ผิด)
• delusion of persecution หลงผิดว่าถูกปองร้าย
• delusion of grandeur หลงผิดว่าตนเองเก่ง
• delusion of reference หลงผิดว่าพฤติกรรมของคนอืนมี ความหมายพาดพิงถึงตนเอง และมักปนการพาดพิงไปทางลบ
somatic delusion หลงผิดว่าการทําหน้าทีของร่างกายไม่ดี เช่น หลงผิดว่าสมองของตนเอง กําลัง เน่าหรือกําลังละลาย
systematized delusion เนือหาของความหลงผิดเปนเรือง เปนราวของเหตุการณ์เดียวหรือมี แก่นเรืองเดียวกัน
2) obsession การยาคิด คือ การความคิดหรือแรงดลใจเกิดขึน ซาแล้วซาอีกซึงบุคคลนันรู้ดีว่า ความคิดยานันไม่เปนความจริงแต่ก็อดคิดไม่ ได้ จึงทําให้เกิดความกังวลขึน
3) overvalued ide ความเชือทีบุคคลนันให้คํานิยมหรือให้ความ สําคัญมาก และอาจไม่สามารถให้ เหตุผลได้ว่าทําไมจึงเชือเช่นนัน
4) phobia การกลัวทีผิดธรรมดา คือ กลัวบางสิงบางอย่างหรือ สถานการณ์เฉพาะบางอย่างซึงเปน ความกลัวอย่างไม่มีเหตุผลและกลัวมาก เกินไป
acrophobia การกลัวทีสูงอย่างผิดธรรมดา - ailurophobia การกลัวแมวอย่างผิดธรรมดา
agoraphobia กลัวการอยู่ในทีโล่งแจ้งหรือสถานทีทีไม่คุ้นเคย อย่างผิดธรรมดา
claustrophobia กลัวการอยู่ในพืนทีปดอย่างผิดธรรมดา - social phobia การกลัวการถูกทําให้อับอายต่อหน้าคนอืนใน สถานการณ์ทางสังคมอย่างผิด ธรรมดา
zoophobia การกลัวสัตว์อย่างผิดธรรมดา
5) poverty of content ความคิดทีมีเนือหาความคิดน้อยแม้จะมี ปริมาณความคิดมาก
6) ความผิดปกติของการรับรู้สัมผัส (disturbance of perception) การรับรู้ (perception)
ชนิดที1 การรับรู้ผิดปกติแบบประสาทหลอน (hallucination) เปนการรับรู้แบบผิดพลาด (false)คือมีการรับรู้เกิดขึนเองโดยทีจริงๆแล้ว ไม่มีสิงเร้าเลย
1) auditory hallucination การรับรู้ว่าได้ยินเสียงทังทีจริง แล้วไม่มีเสียงนันเกิดขึน หรือ “หูแว่ว"
2) gustatory hallucination การรับรู้รสชาติ ทังทีจริงแล้ว ไม่ได้มีรสชาตินันเกิดขึน คือ "รับ รสหลอน"
3) olfactory hallucination กรรับรู้ว่าได้กลิน ทังทีจริงแล้ว ไม่มีกลินนันอยู่ คือ "จมูกได้ กลินหลอน"
4) tactile หรือ haptic hallucination การรับรู้สัมผัสที ผิวหนังโดยทังทีจริงไม่ได้มีสิง กระตุ้นทีผิวหนังเลยเช่นการรู้สึกว่ายังมีขาอยู่ ทัง ๆ ทีถูกตัดขาไปแล้
5)visualhallucinationกรรับรู้ว่าเห็นภาพทังทีจริงแล้วไม่มี เหตุการณ์นันเกิดขึนเลยหรือ “เห็นภาพหลอน"
audible thought คือ การได้ยินเสียงความคิดของตนเองเปนเสียง คนพูด
hypnagogic hallucination คือ อาการประสาทหลอนขณะกําลังเคลิม จะหลับ
hypnopompic hallucination คือการประสาทหลอนขณะกําลังเคลิม จะตืน - lilliputian hallucination หรือ micropsia คือ การมองเห็นวัตถุในขนาด เล็กกว่า ปกติ(ตรงข้ามกับ macropsia)
somatic hallucination การรับรู้สัมผัสว่ามีบางสิงบางอย่างเกิดขึนอยู่ใน ร่างกายหรือ มีการเปลียนแปลงบางอย่างของร่างกาย โดยทังทีจริงแล้วไม่มีอะไรเกิดขึน
ชนิดที2การรับรู้ผิดปกติแบบประสาทลวง(illusion)คือการ รับรู้ทีบิดเบือนไปจากสิงทีมา กระตุ้นจริง อาจเกิดจากความผิดพลาดในขัน ตอนของการรับรู้ (perceive) หรือในขันตอนตีความ (interpret)ยกตัวอย่าง ในกรณีของ visual illusion หรือ "ภาพลวงตา"
ชนิดที3การรับรู้ผิดปกติทีเปนปรากฎการณ์conversionและ dissociationเปนการรับรู้ผิดปกติทีอาจเกิดจากกลไกทางจิตซึงแปรสิงทีเก็บ กดอยู่ในจิตไร้สํานึกให้เปนอาการทางร่างกาย (conversion)
1) derealization การรู้สึกว่าสิงแวดล้อมในขณะนันดูแปลก ไปหรือดูไม่จริง อาจพบในผู้ปวย โรคจิตภท
2) depersonalization การรู้สึกว่าตนเองเปลียนไป ผิด แปลกไปจากความจริงหรือรู้สึกไม่ คุ้นเคยกับตัวเอง อาจพบในผู้ปวย โรคจิตเภทและผู้ปวย dissociative disorder ได้
3) fugue การเดินเร่ร่อนขณะทีความรู้สึกตัวขาดตอน และ ส่วนหนึงของความจําหายไป เพือ หลีกเลียงการเผชิญปมขัดแย้งในจิตใจ (psychological conflict)
4) hysterical anesthesia การสูญเสียการรับความรู้สึก ซึง มีสาเหตุจากความขัดแย้งทาง อารมณ์อย่างรุนแรง
ชนิดที4 ความผิดปกติของการรับรู้ทีเกิดความผิดปกติของพุทธิ ปญญา(cognition) คือ อาการที ไม่สามารถจําได้ (recognize) หรือไม่ สามารถแปลการรับรู้ (interpretation) สิงทีมากระตุ้นได้ เรียกว่า agnosia
1) anosognosia การทีบุคคลไม่สามารถตระหนักหรือจดจํา ได้ว่าตนเองมีอาการระบบ ประสาทบกพร่อง (neurological deficit)
2) astereognosis ไม่รู้จัก (recognize) วัตถุด้วยการสัมผัส
3) prosopagnosia ไม่สามารถจําใบหน้าบุคคลทีคุ้นเคยได้ โดยไม่ได้มีสาเหตุจากความ บกพร่องทางการมองเห็นหรือเกิดจากระดับ ความรู้สึกตัวเปลียนแปลง 4) somatognosia หรือ autotopagnosia คือ การทีบุคคล ไม่ตระหนักหรือรับรู้ว่าส่วนนัน ๆ เช่น ซีกหนึงของร่างกายเปนส่วนหนึงของ ร่างกายตนเอง
5) visual agnosia ไม่รู้จัก (recognize) วัตถุหรือบุคคลทีมองเห็น
6) ความผิดปกติของความจํา (disturbanceofmemory)ความจํา (memory) เป็นประสบการณ์
1) immediate memory ความจําสิงทีเพิงรู้มาเมือสักครู่เปน วลาหลายวินาทีหรือหลายนาที
2) recent memory ความจํา เหตุการณ์ทีเกิดขึนเมือ 2-3 วันก่อน
3) recent past memory ความจําเหตุการณ์ทีเกิดขึนเมือ 2-3 เดือนก่อน
4) remote memory ความจําเหตุการณ์ในอดีตผ่านทีนานแล้ว ส่วนของความผิดปกติของความจํา
2 more items...
2.2 เกณฑ์การจําแนกโรคทางจิตเวช
1) International Classification of Disease and Related Health Problem 10 th Revision (ICD 10)
F00-F99 organic including symptomatic, mental disorders เปนความผิดปติทางจิตใจทีมี สาเหตุจากโรครวมทังทีมีอาการทางกาย
F10-F19 mental and behavioral disorders due to psychoactive substance use เปน ความผิดปกติทางจิตใจและพฤติกรรม เนืองจาการใช้วัตถุออกฤทธิต่อจิตประสาท
F20-F29 schizophrenia schizotypal and delusional disorders จิตเภทพฤติกรรม แบบจิต เภทและความหลงผิด
F30-F39 mood (affective) disorders ความผิดปกติทางอารมณ์
F40-F49 neurotic stress-related and somatoform disorders โรคประสาท อาการทางกายที เกิดจากจิตใจและความเครียด
F50-F59 behavioral syndromes associated with physiological disturbances and physical factors กลุ่มอาการด้าน พฤติกรรมทีเกียวข้องกับความผิดปกติทางสรีรวิทยาและ ปจจัยทางร่างกาย
F60-F69 disorders of adult personality and behavior ความผิดปกติของ พฤติกรรมและ บุคลิกภาพในผู้ใหญ่
F70-F79 mental retardation ภาวะปญญาอ่อน
F80-F89 disorders of psychological development ความผิดปกติของ พัฒนาการทางจิตใจ
F90-F99 behavioral and emotional disorders with onset usually occurring in childhood and adolescence ความผิดปกติทางพฤติกรรม และอารมณ์ ทีมักเริมต้นในวัยเด็กและวัยรุ่น
F 99 unspecified mental disorder ความผิดปกติทางจิตใจที มิได้ระบุรายละเอียด
2) Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorder 5 th edition (DSM V) พัฒนาโดย สมาคมจิตแพทย์อเมริกัน (American Psychiatric Association หรือ APA)
Axis I: clinical syndromes ข้อวินิจฉัยโรคและอาการทางจิต ซึง อาจเป็นการวินิจฉัยปัญหา พฤติกรรม เช่น depression, schizophrenia, social phobia AxisII:developmentaldisordersandpersonalitydisordersความผิดปกติด้านพัฒนาการ และความบกพร่องทางปัญญาหรือปญญาอ่อน เช่น autism, mentalretardationdisordersและความผิดปกติทางบุคลิกภาพทีมีอาการ เป็นระยะเวลานานและเป็นตัว บ่งชีถึงวิธีการทีบุคคลมีปฏิสัมพันธ์กับสิง แวดล้อม เช่น paranoid, antisocial, borderline
Axis III: physical conditions ภาวะความเจ็บป่วยทางกายของผู้ ป่วยในขณะนั้น ทีอาจเกียวข้อง กับสภาพการเกิดพฤติกรรมเบียงเบนของ พยาธิสภาพในแกนที 1 และ 2 เช่น brain injury หรือ HIV/AIDS
Axis IV: severity of psychosocial stressors ปัญหาจากจิตสังคม หรือสิงรอบตัวทีมี ส่วนสําคัญ ในการก่อให้เกิดโรคหรือทําให้โรคกําเริบ
Axis V: Highest Level of Functioning เปนการประเมิน ประสิทธิภาพของการปรับตัวของผู้ปวย อาจเปนก่อนปวย ขณะปวยครังนี หรือจําหน่ายจากโรงพยาบาล เช่น พฤติกรรมทีแสดงออกเกียวกับความ สัมพันธ์ทาง สังคมโดยรวม หรือความสามารถในการประกอบอาชีพหรือการ ใช้เวลาว่างให้เปนประโยชน์ โดยใช้ Global Assessment of Functioning
สิทธิของผู้ปวย กฎหมาย จริยธรรมในการพยาบาลสุขภาพจิตและ จิตเวช
1) เพือปกปองคุ้มครอง ส่งเสริมและปรับปรุงคุณภาพชีวิตและ สุขภาพจิตของประชาชน
2) เพือส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยธรรมชนของผู้ทีมีความผิด ปาติทางจิต
3) เพือเปนการปองกันอันตรายทีอาจเกิดขึนจากผู้ปวยจิตเวช ในพระราชบัญญัติสุขภาพจิต
น.ส.เปมิกา เพิ่มชีวา รหัส180101126