Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การรักษาด้วยยาทางจิตเวช (Psychopharmacology) - Coggle Diagram
การรักษาด้วยยาทางจิตเวช (Psychopharmacology)
ยารักษาโรคจิต (Antipsychotic drugs/Major tranquillizers)
เป็นยาที่ใช้รักษาอาการโรคจิต (Psychosis) และรักษากลุ่มอาการทางจิตเวชที่เกิดจากพยาธิสภาพทางกาย สามารถควบคุมอาการของโรคได้ดีขึ้น ช่วยให้ผู้ป่วยปรับตัวได้มากขึ้น สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้
ประเภทของยา
Atypical antipsychotic drugs หรือ Serotonin-Dopamine Antagonists (SDA)
ยาในกลุมนี้สามารถจำแนกออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่
1.dibenzodiazepine
ตัวอย่างยาที่ใช้
Clozapine หรือ Clozaril, Clopaze
2.benzisoxazole
ตัวอย่างยาที่ใช้
Risperidone หรือ Risperdal
กลไกการออกฤทธิ์
ยาออกฤทธิ์ปิดการจับของ serotonin และ dopamine จึงเพิ่มประสิทธิภาพการรักษากลุ่มอาการด้านลบ (Negative symptoms) และด้านกระบวนการรู้คิด (Cognitivesymptoms) ได้ดีกว่ากลุ่ม DA ในขณะที่รักษากลุ่มอาการด้านบวก(Positive symptoms)ได้ดีเท่าๆ
กัน
Typical antipsychotic drugs หรือ Dopamine antagonists (DA)
ยาในกลุมนี้สามารถจำแนกออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่
1.Phenothiazine
มีฤทธิ์ sedative สูง มีฤทธิ์ข้างเคียงทำให้ความดันโลหิตต่ำมากกว่ายาชนิดอื่น
ตัวอย่างยาที่ใช้
Fluphenazine หรือ Fendec,Proxilin
Trifluoperazine หรือ Stelazine
Thioridazine หรือ Melleril
Chlorpromazine (CPZ) หรือ Largactil
Perphenazine หรือ Trilafon
2.Butyrophenone
มี Potency สูง มีฤทธิ์ Sedative น้อยและมี Extrapyramidal Syndrome สูง ใช้ในการควบคุมอาการวุ่นวาย ก้าวร้าว ประสาทหลอน หลงผิด และ mania
ตัวอย่างยาที่ใช้
Haloperidol หรือ Haldol,Halop
กลไกการออกฤทธิ์
ยาออกฤทธิ์ยับยั้งการจับของ dopamine ทำให้ dopamine ลดลง การที่dopamine ในส่วน mesolimbic และ mesocortical ถูกยับยั้งทำให้รักษากลุ่มอาการด้านบวก(Positive symptoms) และกลุ่มอาการด้านลบ (Negative symptoms) ของผู้ป่วยได้
ผลข้างเคียงของยารักษาโรคจิต
Endocrine effects
อธิบายให้ผู้ป่วยฟังว่าอาการเหล่านี้จะเกิด
ชั่วคราวเท่านั้นและจะเป็นปกติได้
Anticholinergic side effects
ตาพร่า
ไม่ควรขับรถจนกว่าอาการตาพร่าจะดีขึ้น
ระวังการพลัดตกหกล้มจากการมองเห็นไม่ชัด
ปัสสาวะลำบาก
จดบันทึกน้้ำดื่มและปัสสาวะเพื่อดูความ
สมดุลของน้ำที่ได้รับและการขับถ่ายออกไป
ปากแห้ง
ให้อมน้้ำแข็งหรือจิบน้ำบ่อยๆ
ท้องผูก
แนะนำให้รับประทานอาหารที่มีกากใย
มากๆ เช่น ผัก ผลไม้ ดื่มน้ำเพิ่มขึ้นถ้าไม่มีข้อ
ห้าม และกระตุ้นให้ออกกำลังกาย
2.Neuroleptic malignant syndrome
(NMS)
คอยสังเกตอาการอย่างใกล้ชิด ถ้าพบรีบ
รายงานแพทย์ทราบเพื่อให้การช่วยเหลือ
Effect on seizure threshold
คอยสังเกตอาการชักของผู้ป่วยที่อาจจะ
เกิดขึ้นได้
Adrenergic side effects
แนะนำให้ลุกขึ้นช้าๆ จากท่านอนเป็นท่านั่ง
หรือท่านั่งเป็นท่ายืน วัดความดันโลหิตท่านอน
และท่ายืนเพื่อเปรียบเทียบกัน
Hematologic effects
สังเกตอาการของผู้ป่วย เช่น เจ็บคอ มีไข้
รายงานให้แพทย์ทราบ
Extrapyramidal Symptoms (EPS)
1.1 Acute dystonia
ในรายที่ไม่รุนแรง อาจให้หยุดยาที่เป็น
สาเหตุ อาการจะหายไปใน 1-2 วัน ในรายที่
รุนแรง ดูแลให้ได้รับยาแก้อาการตามแผนการ
รักษา
1.4 Tardive dyskinesia
คอยสังเกตอาการ ถ้าพบควรให้อาหาร
ที่มีแคลอรี่สูง อาหารอ่อนให้ผู้ป่วยพักผ่อนให้
เพียงพอ แนะน าผู้ป่วยให้พูดช้าๆ ให้ผู้ป่วยพูดถึง
ความรู้สึกเขาออกมา
1.3 Parkinsonism
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบ
ว่าอาการเหล่านี้จะเกิดได้ในระยะแรกที่ได้รับยา เกิดขึ้นชั่วคราวเท่านั้น จะหายไปได้เมื่อใช้ยาแก้
แพ้ (Anticholinergic drugs/Antiparkinson
drugs) และร่างกายจะค่อยๆ ปรับตัวได้ เพื่อลด
ความวิตกกังวลของผู้ป่วย
1.2 Akathisia
ระวังการเกิดอุบัติเหตุ และการรบกวน
ผู้อื่น คอยดูแลการรับประทานอาหาร
Skin reaction
อาจหยุดยาชั่วคราว หรือให้ยาแก้แพ้และ
แนะน าผู้ป่วยให้ระวังโดยใส่เสื้อแขนยาวหรือ
กางร่ม หรือใช้ยาทาผิวกันแสงแดดเมื่อจะออกไปข้างนอก
Hepatic effects
สังเกตอาการดีซ่าน เช่น ตัวเหลือง ตาเหลือง
Ocular effects
คอยสังเกตอาการของผู้ป่วยและถ้าพบ
แนะนำให้ผู้ป่วยระวังการเคลื่อนไหว เพราะอาจ
พลัดตกหกล้มทำให้บาดเจ็บได้
ยารักษาอาการซึมเศร้า (Antidepressant drugs)
เป็นยารักษาอาการซึมเศร้าเนื่องจากสาเหตุต่างๆ
และได้ผลดีมากในโรคซึมเศร้า โดยทำให้อารมณ์เศร้าหมดไป และช่วยให้อาการที่เกิดขึ้นร่วมกับ
อารมณ์เศร้าหมดไปด้วย เช่น เบื่ออาหาร นอนไม่หลับ ใจคอหงุดหงิดง่าย ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม และ
ความคิดว่าตนเองไร้ค่า
ประเภทของยา
2) Tricyclic Antidepressants (TCAs)
กลไกการออกฤทธิ์
ยากลุ่ม TCAs ออกฤทธิ์ยับยั้งการเก็บกลับคืนของ serotonin และ
norepinephrine (Serotonin-norepinephrine reuptake inhibitors) เข้าไปในปลายประสาท
หลังจากหลั่งสารสื่อประสาทนี้ในระบบประสาทส่วนกลาง ทำให้ serotonin และ norepinephrine
เพิ่มขึ้น จึงยกระดับอารมณ์ให้ดีขึ้น
ตัวอย่างยาที่ใช้
Imipramine หรือTofranil
Nortriptyline หรือ Nortrilen
Amitriptyline หรือTryptanol
ผลข้างเคียงของยารักษาอาการซึมเศร้ากลุ่ม TCAs
Cardiovascular effects
แนะนำผู้ป่วยให้ลุกขึ้นอย่างช้าๆ จากท่านอน
เป็นท่านั่งหรือท่านั่งเป็นท่ายืน วัดความดันโลหิต
ท่านอนและท่ายืนเพื่อเปรียบเทียบกัน
Sexual side effects
อาการนี้เกิดร่วมกับสภาพจิตใจของผู้ป่วยที่
ขาดความภาคภูมิใจในตนเอง (low self
esteem) จึงทำให้รุนแรงมากขึ้น ถ้าผู้ป่วยใช้ยานานต้องรายงานแพทย์
Central nervous system effects
ระมัดระวังอุบัติเหตุ เช่น ตกเตียง หกล้ม
เพราะผู้ป่วยมีการทรงตัวไม่ดี โดยเฉพาะผู้สูงอายุ
Weight gain
แนะนำผู้ป่วยเกี่ยวกับการรับประทานอาหาร
และให้ผู้ป่วยออกกำลังกาย
Anticholinergic effects
อธิบายให้ผู้ป่วยฟังว่าอาการจะหายไปหลังจาก
ได้รับยา 2-3 สัปดาห์ ให้การช่วยเหลือตามอาการ เช่น แนะน าผู้ป่วยอย่าขับรถจนกว่าอาการตาพร่า
จะดีขึ้น ระวังการพลัดตกหกล้มจากการมองเห็นไม่ชัด ให้รับประทานอาหารที่มีกากใย ดื่มน้ำ
เพิ่มขึ้นถ้าไม่มีข้อห้าม และกระตุ้นให้ผู้ป่วยออก
กำลังกาย ให้รายงานแพทย์เมื่อปัสสาวะลำบาก จดบันทึกน้ำดื่มและปัสสาวะเพื่อดูความสมดุลของ
น้ำที่เข้าและออกจากร่างกาย
Antihistamine effects
แนะนำผู้ป่วยไม่ควรขับรถและทำงานควบคุม
เครื่องจักร ให้ระวังอุบัติเหตุ
1) Monoamine Oxidase Inhibitors (MAOIs)
กลไกการออกฤทธิ์
ยากลุ่ม MAOIs ออกฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ monoamine oxidase ที่ใช้เผา
ผลาญ amine neurotransmitters ทำให้ปริมาณ monoamine เพิ่มขึ้น ระดับ serotonin,
norepinephrine และ dopamine ในสมองสูงขึ้นกระบวนการนี้ใช้เวลา 2-3 สัปดาห์ ซึ่งมี
ความสัมพันธ์กับการดีขึ้นของอาการซึมเศร้า
ตัวอย่างยาที่ใช้
Isocarboxazid (Marphan) 10 mg
Phenelzine (Nardil) 15 mg
Tranylcypromine (Parnate)
10 mg
ผลข้างเคียงของยารักษาอาการซึมเศร้ากลุ่ม MAOIs
Hypertensive crisis
ควบคุมอาหารที่มี tyramine อย่างเคร่งครัด
ซึ่งพบมากใน ชีส เนยแข็ง ตับไก่ ไวน์ เบียร์
ช็อกโกแลต กล้วย องุ่นแห้ง ครีม ซีอิ๊ว อาหารที่มี
ยีส โยเกิร์ต ฯลฯ
Precipitation of mania
ประเมินสภาพอารมณ์ของผู้ป่วยอย่าง
สม่ำเสมอ
Sedative and weight gain
รายงานแพทย์เพื่อลดปริมาณยาและควบคุม
น้ำหนัก
Sexual side effects
รายงานแพทย์เพื่อเปลี่ยนยา
Cardiovascular effects
ก่อนใช้ยาต้องตรวจหัวใจอย่างถี่ถ้วน และ
ระหว่างใช้ยาต้องตรวจวัดความดันโลหิต
สม่ำเสมอ
4) New Generation
ตัวอย่างยาที่ใช้
Mianserin หรือ Tolvon
หน้ามืดเมื่อลุกช่วงแรก ง่วงซึม ปวดศีรษะ ง่วงซึม
Tianeptine หรือ Stablon
ปากแห้ง ท้องผูก ปวดศีรษะ นอนไม่หลับ คลื่นไส้
Trazodone หรือ Desirel
ง่วงซึม หน้ามืดเมื่อลุกเร็ว ปากแห้ง คอแห้ง ท้องผูก
Mirtazapine หรือ Remeron30
ปากแห้ง ง่วงซึม เจริญอาหาร น้ าหนักเพิ่ม
เป็นยารักษาอาการซึมเศร้ากลุ่มใหม่
3) Selective Serotonin Reuptake Inhibitors (SSRIs)
กลไกการออกฤทธิ์
ยากลุ่ม SSRIs ออกฤทธิ์ยับยั้งการเก็บกลับคืนเฉพาะ serotonin (Selective
serotonin reuptake inhibitors) ทำให้ serotonin เพิ่มขึ้นยกระดับอารมณ์ให้ดีขึ้น
ตัวอย่างยาที่ใช้
Paroxetine หรือ Paxil, Seroxat
Sertraline หรือ Zoloft
Fluoxetine หรือ Prozac, Flulox
ผลข้างเคียงของยารักษาอาการซึมเศร้ากลุ่ม SSRIs
ผลต่อสมอง มึนงง ง่วงนอน นอนไม่หลับ ยาบางตัวทำให้ง่วงนอน เช่น sertraline,
paroxetine
แนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานยาในตอนเช้า
หลีกเลี่ยงอาหาร และเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน สอน
เทคนิคคลายเครียดให้ผู้ป่วยใช้ก่อนนอน
ความต้องการทางเพศลดลง เสื่อมสมรรถภาพ
ทางเพศ
ให้ผู้ป่วยพูดถึงความรู้สึก รายงานแพทย์ทราบ
เพื่อให้การช่วยเหลือ
น้ำหนักลด
ให้รับประทานอาหารให้เพียงพอกับความ
ต้องการของร่างกาย
Serotonin syndrome เกิดจากมี serotonin
activity มากเกินไป ทำให้มีอาการคลื่นไส้
อาเจียน ท้องเสีย ปวดท้อง ความดันโลหิตไม่
สม่ำเสมอ เดินเซ สับสน กระวนกระวาย อุณหภูมิ
ในร่างกายสูงขึ้น หัวใจเต้นเร็ว หมดสติ
หยุดให้ยาทันที รายงานแพทย์ทราบ
ปวดศีรษะ
รายงานให้แพทย์ทราบ
ยาคลายกังวล (Antianxiety drugs/Minor tranquillizers)
ยาคลายกังวล เป็นยาที่ใช้รักษาโรคทางจิตเวช ที่มีอาการวิตกกังวลเป็นสำคัญ มีฤทธิ์ทำให้ประสาทสงบ ลดความวิตกกังวล ความกระวนกระวาย อาการตื่นเต้น หรือคลายเครียด
ยากลุ่มนี้อาจเสพติดได้ถ้าใช้ยาเป็นเวลานาน
กลไกการออกฤทธิ์
ยากลุ่ม benzodiazepines จะไปออกฤทธิ์กดระบบประสาทส่วนกลาง โดยยับยั้งและปิดกั้น GABA (Gamma Amino Butyric Acid) บริเวณ limbic system และ
subcortical ทำให้สมองส่วนที่รับความรู้สึกถูกกด การเคลื่อนไหวช้าลง ง่วงนอน ดังนั้น ยาจึงทำให้ระดับความวิตกกังวลในบุคคลลดลง ทำให้ผู้ป่วยสงบ และช่วยให้หลับได้
ตัวอย่างยาที่ใช้
Alprazolam หรือ Xanax
Lorazepam หรือ Ativan
Diazepam หรือ Valium
Midazolam หรือ Dormicum
ผลข้างเคียงของยาคลายกังวล
หลงลืมเหตุการณ์ช่วงใกล้ๆ ที่เกิดขึ้นก่อนให้
ยา แต่จำเหตุการณ์ในอดีตได้ (Anterograde
amnesia)
ให้ข้อมูลกับผู้ป่วยว่าอาจมีหลงลืมได้บ้าง และ
ควรหลีกเลี่ยงการรับประทานยาก่อนทำกิจกรรม
ที่ต้องอาศัยความจำ
ท าให้เกิดอาการดื้อยา และติดยาได้ หากใช้
เป็นระยะเวลานาน อาจท าให้เกิดอาการมือสั่นหงุดหงิด กระสับกระส่าย นอนไม่หลับ และเกิด
อาการประสาทหลอนได้
แนะนำว่าควรปรึกษาแพทย์ก่อนใช้ยา และไม่
ควรหยุดยา ปรับลดหรือเพิ่มยาเอง
แขนขาไม่มีแรง เดินเซ กล้ามเนื้ออ่อนเปลี้ย
แนะนำผู้ป่วยไม่ควรขับรถในระยะที่
ใช้ยานี้ ระมัดร ะวังในการทำงานเกี่ยวกับ เครื่องจักร ในผู้สูงอายุควรระมัดระวังการหกล้ม
แนะนำเคลื่อนไหวช้าๆจากท่านอนเป็นนั่งหรือ
ยืนถ้าวิงเวียนศีรษะ
สับสน ตื่นเต้น ก้าวร้าว(Paradoxical
excitement)
คอยสังเกตอาการและให้การช่วยเหลือผู้ป่วย
ง่วงนอน ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ สับสน มึนงง
(มักเกิดใน 1-2 ชั่วโมงแรกหลังรับประทานยา)
แนะนำผู้ป่วยไม่ควรขับรถในระยะที่
ใช้ยานี้ ระมัดร ะวังในการทำงานเกี่ยวกับ เครื่องจักร ในผู้สูงอายุควรระมัดระวังการหกล้ม
แนะนำเคลื่อนไหวช้าๆจากท่านอนเป็นนั่งหรือ
ยืนถ้าวิงเวียนศีรษะ
ยาควบคุมอารมณ์ (Mood stabilizing drugs)
เป็นยาที่ใช้รักษา bipolar disorder โดยเฉพาะในระยะ
mania มีคุณสมบัติป้องกันการกลับเป็นซ้ าของโรค (Recurrence) ยากลุ่มนี้ได้แก่ lithium และมักจะ
ใช้ร่วมกับยาในกลุ่มยากันชัก (Anticonvulsant drugs) บางชนิด ได้แก่
valproate, carbamazepine และ lamotrigine ระดับ lithium ที่ให้ผลในการรักษาอยู่ที่ 0.6-1.2 mEq/L
Lithium carbonate
กลไกการออกฤทธิ์
Lithium ออกฤทธิ์ไปปรับเปลี่ยนสารสื่อประสาทบางชนิด ได้แก่ serotonin,dopamine, norepinephrine และ acetylcholine ให้เกิดความสมดุล ทำให้อารมณ์คงที่มากขึ้น มี
อาการสงบลง lithium มีผลต่อการทำงานหรือการเผาผลาญของสารกลุ่มsodium ใน nerve cells
และ muscle cells ซึ่งมีผลให้ผู้ป่วยสงบลง
ระดับพิษของ lithium
ระดับเป็นพิษเล็กน้อย
(1.5-2.0 mEq/L)
ระดับเป็นพิษปานกลาง
(2.0-2.5 mEq/L)
ระดับเฝ้าระวัง
(1.2-1.5 mEq/L)
ระดับพิษรุนแรง
(> 2.5 mEq/L)
ผลข้างเคียงของยาควบคุมอารมณ์
Early side effects
อาการเหล่านี้พบได้เป็นปกติแต่มักไม่รุนแรง พบ
ได้มากกว่า 2-3 วันในช่วงของการปรับปริมาณ
ยาในกระแสเลือดควรให้ความมั่นใจกับผู้ป่วยว่า
ไม่มีอันตรายใดๆ
Late side effects
สังเกตอาการต่างๆ เนื่องจากผู้ป่วยต้องใช้ยาใน
ร ะ ย ะ เ ว ล า ที่ ย า ว น า นช่ ว ย เ ห ลื อ แ บ บ
ประคับประคอง ช่วยให้ผู้ป่วยใช้ยาได้อย่างต่อเนื่อง โดยตรวจระดับ serum lithium อย่างสม่่ำเสมอ หรือทุก 2 สัปดาห์ ถ้ามีอาการรุนแรง
Valproate (Depakin, Encorate)
ผลข้างเคียงของยา valproate
ผลข้างเคียงที่รุนแรง
ผลต่อระบบเลือด อาจทำให้เกิด reversible thrombocytopenia
หรือ platelet dysfunction
ผลต่อการตั้งครรภ์ การได้รับยา valproate ในช่วงไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์ อาจทำให้ทารกเกิด neural tube defect ได้
ผลต่อตับและตับอ่อน อาจท าให้เกิด hepatitis, hepatic failure
หรือ pancreatitis
ผลข้างเคียงที่พบบ่อยแต่ไม่รุนแรง
มือสั่น
น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น หรือผมร่วง ซึ่งมักเป็นชั่วคราว
ง่วงซึม อ่อนเพลีย พบบ่อยในช่วงแรก
ท าให้เอนไซม์ของตับเพิ่มขึ้นเล็กน้อย
คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร แน่นท้อง ท้องเสีย
กลไกการออกฤทธิ์
Valproate ช่วยเสริมการทำงานของระบบ GABA โดยเพิ่มระดับของ GABAในสมองให้สูงขึ้น
Carbamazepine (Tegretol)
กลไกการออกฤทธิ์
Carbamazepine ออกฤทธิ์ต่อหลายระบบ เช่น ช่วยเสริมการทำงานของ
serotonin เสริมการทำงานของ GABA ซึ่งเป็นสารสื่อประสาทที่ยับยั้งการท างานของเซลล์ประสาท
ทำให้รู้สึกสงบ คลายความกังวล
ผลข้างเคียงของยา carbamazepine
1) คลื่นไส้อาเจียนในช่วงแรก กระหายน้ า ปวดท้อง ท้องเสีย
2) ง่วงซึม เดินเซ แขนขาไม่มีแรง กล้ามเนื้ออ่อนแรง มือสั่น พูดไม่ชัด
3) ตาพร่ามัว มองเห็นภาพซ้อน
4) มีเสียงกริ่งหรือเสียงหึ่งในหู
5) ปวดเมื่อยตามตัว ปัสสาวะแสบขัด
6) มีไข้สูง ไอ เจ็บคอ มีแผลแสบร้อนในปาก กลืนอาหารไม่ได้
7) อาจมีผื่นคัน ถ้ารุนแรงอาจเป็น Steven Johnson syndrome
8) อาการ agranulocytosis หรือ aplastic anemia จึงห้ามใช้ในผู้ป่วย
severe AV block และ severe liver disease และควรตรวจนับเม็ดเลือดขาว (WBC count) ทุก
สัปดาห์ในเดือนแรกที่ใช้ยา และตรวจทุก 3 เดือนหลังจากนั้นถ้าไม่มีปัญหาเม็ดเลือดขาวต่ ากว่า
4,000/ลบ.มม.
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยยา carbamazepine
1) สังเกตและประเมินอาการของผู้ป่วย ตรวจสอบบันทึกสัญญาณชีพ
2) ให้ผู้ป่วยรับประทานยาพร้อมอาหารเพื่อลดการระคายเคืองระบบทางเดินอาหาร
3) ติดตามระดับเม็ดเลือดขาว ถ้าต่ำกว่า 4,000/ลบ.ซม. ต้องรายงานแพทย์เพื่อหยุดยา
4) ให้การดูแลใกล้ชิด ป้องกันอุบัติเหตุ
5) ป้องกันการติดเชื้อ โดยให้ผู้ป่วยรักษาความสะอาดร่างกาย ช่องปาก เสื้อผ้า ผ้าปูที่นอน
6) แนะน าว่าถ้ามีอาการไข้สูง เจ็บคอ มีแผลในปาก ให้รีบปรึกษาแพทย์
ยาลดอาการข้างเคียงของยารักษาโรคจิต (Anticholinergic drugs/Antiparkinson drugs)
อาการ parkinsonism เป็นกลุ่มอาการที่มีลักษณะการเคลื่อนไหวผิดปกติ คือ
กล้ามเนื้อแข็งเกร็ง (Rigidity) ไม่มีแรงเคลื่อนไหว (Akinesia) และมือสั่น (Tremor) การเคลื่อนไหวช้า
แขนขาสั่นพบในผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยยารักษาโรคจิต มักเกิดใน 4 สัปดาห์แรกของการรักษายาในกลุ่ม anticholinergic หรือ antiparkinson มีเป้าหมายเพื่อลดอาการข้างเคียงดังกล่าว
ตัวอย่างยาที่ใช้
Trihexyphenidyl หรือ Aca, Artane,
Benz, Benzhexol
Diphenhydramine หรือ Benadryl
Benztropine หรือ Cogentin
ผลข้างเคียงของยาลดอาการข้างเคียงของยารักษาโรคจิต
Sedation, Drowsiness, Dizziness
ระมัดระวังการเกิดอุบัติเหตุ เช่น หกล้ม
ตกเตียง หลีกเลี่ยงการควบคุมเครื่องจักร
คลื่นไส้ ปั่นป่วนในท้อง
แนะนำรับประทานยาพร้อมอาหาร หรือหลัง
อาหารทันที
Anticholinergic effects เช่น ปากแห้ง
ตาพร่า ท้องผูก ปัสสาวะลำบากในผู้สูงอายุ
แนะนำให้ดื่มน้ำมากขึ้น และเพิ่มการทำ
กิจกรรม ซึ่งอาการส่วนมากไม่รุนแรง
Orthostatic hypotension
ตรวจวัดความดันโลหิตอย่างสม่ำเสมอ และ
แนะนำเปลี่ยนอิริยาบถ
Anticholinergic delirium อาการสำคัญ คือ
สับสน ไม่รู้วัน เวลา สถานที่ หรือแสดงอาการ
ทางจิตต่างๆ
พบน้อย มักเกิดในผู้สูงอายุ ควรให้หยุดยา
กลไกการออกฤทธิ์
เนื่องจากยารักษาโรคจิตออกฤทธิ์ยับยั้ง/ปิดกั้น dopamine receptor ในสมองส่วนที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหว ทำให้ปริมาณ dopamine neurotransmitter และacetylcholine neurotransmitter ไม่สมดุล คือ มี acetylcholine และขาด dopamine ยาในกลุ่มนี้จะไปลดปริมาณ acetylcholine และเพิ่มปริมาณ dopamine เพื่อให้เกิดความสมดุลเมื่อสารทั้งสองนี้อยู่ในภาวะสมดุลก็จะทำให้อาการ parkinson ทุเลาลง