Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชกำหนดพิกัดอัตราศุลกากร พ.ศ. 2559 ตอนที่3, นางสาว หัถยา ธรรมชาติ…
พระราชกำหนดพิกัดอัตราศุลกากร พ.ศ. 2559 ตอนที่3
การสำแดงประเภทของและเกณฑ์ปริมาณที่ต้องใช้ในการเก็บอากร
มาตรา7 “การส าแดงรายการในใบขนสินค้าขาเข้าและใบขนสินค้าขาออกนั้น มิให้ถือว่าบริบูรณ์นอกจากจะส าแดงประเภทของและเกณฑปริมาณของและเกณฑ์ปริมาณที่ต้องใช้ในการเก็บอากรให้ถูกต้องครบถ้วนตามที่จ าแนกและก าหนดไว้ในพิกัดอัตราอากรท้ายพระราชบัญญัตินี้”
มาตรา8 “ภายใต้บังคับบทบัญญัติแห่งมาตรา9 ในกรณีที่กฏหมายก าหนดให้การใดต้องท าเป็นหนังสือ มีหลักฐานเป็นหนังสือ หรือมี
เอกสารมาแสดง ถ้าได้มีการจัดท าข้อความขึ้นเป็นข้อมูลอีเล็กทรอนิกส์ที่สามารถเข้าถึงและน ากลับมาใช้ได้โดยความหมายไมเปลี่ยนแปลง ให้ถือว่าข้อความนั้นได้ท าเป็นหนังสือ มีหลักฐานเป็นหนังสือ หรือมีเอกสารมาแสดงแล้ว” ทั้งนี้ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมอีเล็กทรอนิกส์พ.ศ.2544
การเสียอากรหลังการโอนสิทธิ์
มาตรา10 ของใดซึ่งในเวลานำเข้าได้รับยกเว้นหรือลดหย่อนอากร ถ้าหากของนั้นได้โอนไปเป็นของบุคคลที่ไม่มีสิทธิได้รับยกเว้นหรือลดหย่อนอากร หรือได้น าไปใช้ในการอื่นนอกจากที่ก าหนดไว้หรือสิทธิที่ได้รับยกเว้นหรือลดหย่อนสิ้นสุดลง ของนั้นต้องเสียอากรโดยสภาพของของราคา และอัตราอากรที่เป็นอยู่ในวันโอนหรือน าไปใช้ในการอื่นส าหรับกรณีที่ได้รับลดหย่อนอากรให้ช าระอากรเพิ่มจากที่ได้เสียไปแล้วทั้งนี้ให้แจ้งขอช าระอากรภายใน 30 วัน ณ ที่ทำการศุลกากรซึ่งกรมศุลกากรก าหนด ให้เสร็จสิ้นภายใน 30 วัน
การชำระอากร หรืออากรเพิ่ม ให้เป็นความรับผิดชอบของผู้โอน ยกเว้นในกรณีที่ผู้มีสิทธิได้รับยกเว้นหรือลดหย่อนอากรถึงแก่ความตายในขณะเป็นเจ้าของ ให้ผู้จัดการมรดกหรือทายาทแล้วแต่กรณีเป็นผู้รับผิดชอบอากรหรืออากรเพิ่ม โดยให้แจ้งชำระอากรหรืออากรเพิ่มภายใน 30 วัน
ประโยชน์ของพิกัดอัตราศุลกากร
เพื่อให้เกิดความสะดวกในการจัดเก็บอากรศุลกากร
เพื่องานด้านสถิติ
เพื่อให้สะดวกแก่การกำหนดอัตราอากร
เพื่อให้เกิดความสะดวกทางการค้าระหว่างประเทศ
เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนสิทธิประโยชน์ทางการค้าหรือสิทธิประโยชน์ทางศุลกากร
เกณฑ์คำนวณเงิรอากรหรือการเรียกเก็บอากร
มาตรา 8 (มี 2 ข้อ) ของที่ต้องเสียอากรตามสภาพ
ถ้าเป็นของประเภทอาหารที่บรรจุภาชนะโดยมีของเหลวหล่อเลี้ยงด้วยเพื่อประโยชน์ในการถนอมอาหาร น ้าหนักที่ใช้เป็นเกณฑ์ค านวนอากรให้ถือเอาน ้าหนักแห่งของรวมทั้งของเหลวที่บรรจ
ภาชนะนั้น
ถ้าบรรจุในหีบห่อหรือภาชนะใดๆ เพื่อจำหน่ายทั้งหีบห่อหรือภาชนะและมีเครื่องหมายหรือป้ายแสดงปริมาณแห่งของติดไว้ที่หีบห่อหรือภาชนะนั้น เพื่อประโยชน์ในการค านวนอากรอธิบดีกรมศุลกากรจะถือว่าหีบห่อหรือ ภาชนะนั้นๆบรรจุของตามปริมาณที่แสดงไว้ก็ได
การคิดค่าอากรในการโอนสิทธิ
ในกรณีที่เกิดปัญหากับสิ่งของที่จะมีการโอนสิทธิเช่น เกิดการสูญหาย หรือใช้สอยไปหมดแล้ว ของนั้นไม่ต้องเสียอากรเพราะไมหาย หรือใช้สอยไปหมดแล้ว ของนั้นไม่ต้องเสียอากรเพราะไม
กรณีมีกฏหมายอื่นบัญญัติไว้เป็นพิเศษแล้วก็ต้องบังคับให้เป็นไปตามนั้น เช่น พระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน
การกำหนดราคาศุลกากรสำหรับของที่ต้องเสียอากรตามราคา
มาตรา9 “ของที่ต้องเสียอากรตามราคาอธิบดีกรมศุลกากรจะประกาศเป็นครั้งคราวก็ได้ว่าราคาศุลกากรส าหรับของประเภทหนึ่งประเภทใด ก าหนดเป็นเงินเท่าใด ให้ถือว่าราคาเช่นนี้เป็นเกณฑ์ประเมินเงินอากรในประเภทของที่ประกาศนั้น นับตั้งแต่วันประกาศเป็นต้นไป จนกว่าจะมีประกาศยกเลิกหรือเปลี่ยนแปลง”การประกาศ การยกเลิกหรือเปลี่ยนแปลงประกาศในวรรคหนึ่ง ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
นางสาว หัถยา ธรรมชาติ 6201102098021 LMX2 การจัดการโลจิสติกส์