Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลโรคหัวใจในสตรีตั้งครรภ์ : : - Coggle Diagram
การพยาบาลโรคหัวใจในสตรีตั้งครรภ์ : :
ระยะตั้งครรภ์
คำแนะนำก่อนกลับบ้าน
แนะนำการรับประทานอาหาร
อาหารที่มีธาตุเหล็ก กรดโฟลิคและโปรตีนสูง เช่น ตับ เนื้อแดง อาหารทะเล เป็ด ไก่ ไข่แดง และแนะนำอาหารวิตามินซีสูง เช่น มะละกอ ส้ม มะนาว เพื่อช่วยดูดซึมแธาตุเหล็ก
ดื่มน้ำอย่างน้อยวันละ 8 แก้ว และรับประทานผักเพิ่มกากใย ป้องกันท้องผูก เพราะการกินยาบำรุงธาตุเหล็กทำให้ท้องผูกได้
ลดอาหารที่มีแคลเซียมสูง เช่น ผักใบเขียว เพราะทำให้เลือดแข็งตัว
ถ้าบวมให้จำกัดโซเดียม แต่ไม่น้อยกว่า 2.5 กรัม/วัน
การใช้ยา
รับประทานยารักษาโรหัวใจ ยาขับปัสสาวะ
แนะนำการฉีด
Heparin
เข้าใต้ผิวหนัง
ติดตามด้วย
PT, PTT, INR
รับประทานยาบำรุงที่มีธาตุเหล็กและกรดโฟลิค เพื่อป้องกันภาวะโลหิตจาง
หากิจกรรมที่ชอบผ่อนคลายความเครียด หรือความวิตกกังวล
สอนการนับลูกดิ้น
Count to 10: นับการดิ้นของทารกจนครบ 10 ครั้ง ใน 2 ชั่วโมง
Modified cardiff count to 10: นับ 8.00-12.00 น. (4 hr) นับจนครบ 10 ครั้ง
Sadorsky: นับหลังอาหาร 1 hr ต้องดิ้นไม่น้อยกว่า 3 ครั้งใน 1 hr หรือใน 12 hr ต้องดิ้นไม่น้อยกว่า 10 ครั้ง
จำกัดกิจกรรมและออกกำลังกายแต่พอเหมาะ ถ้ารู้สึกเริ่มเหนื่อยต้องหยุดทันที
พักผ่อนให้เพียงพอ เพื่อลดการทำงานของหัวใจ
แนะนำให้มาตรวจตามนัดอย่างสม่ำเสมอ หรือเมื่อม่อาการของโรคหัวใจ
การมีเพศสัมพันธ์
Class I,II อาจมีเพศสัมพันธ์ได้ แต่ถ้ามีอาการเหนื่อย ใจสั่น ให้หยุดทีนที แล้วพักผ่อน
Class III,IV ไม่ควรมีเพศสัมพันธ์
อาการที่ต้องรีบมาพบแพทย์ คือ หอบเหนื่อยมาก ไอเป็นเลือด นอนราบไม่ได้ ใจสั่น หน้าบวม
การรับไว้ในโรงพยาบาล
Class III: ควรรับไว้ใน รพ. ตลอดการตั้งครรภ์อนุญาตให้กลับบ้านในวันหยุดหากอาการไม่ผิดปกติรุนแรง
Class I: รับไว้อย่างน้อย 1 wk ก่อนครรภ์ครบกำหนด
การประเมินสุขภาพทารกในครรภ์
ฟัง FHS ปกติ 120-160 bpm
U/S : ดู GA, EFW, AFI (>15 cm.อาจมี IUGR, fetal dead in utero)
Class II : รับไว้ตั้งแต่ 28 wk อนุญาตให้กลับบ้านในวันหยุดหากอาการไม่ผิดปกติรุนแรง
Class IV: ให่อยู่ รพ.ตั้งแต่ตั้งครรภ์จนกระทั่งคลอด
ระยะเจ็บครรภ์คลอดและระยะคลอด
EFM พบ late deceleration รีบให้ oxygen mask with bag 10 LPM เพื่อป้องกันภาวะ fetal distress
จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ ช่วยคลายความกังวลและความเครียด
จัดท่านอนตะแคงซ้าน ศีรษะสูง เพื่อลดการกดทับ Inferior vena cava
V/S ทุก 1 ชั่วโมง โดยเฉพาะ RR ,PR
If RR>25 bpm, PR>100 bpm, signs decress CO มีภาวะ Cardiac shock
รีบให้ออกซิเจนและรายงานแพทย์ทันที
ดูแลให้ oxygen mask with bag 10 LPM, Keep SpO2 >95%
ดูแลให้ IV fluid เพื่อควบคุม BP
Record I/O เพื่อประเมิน fluid overload
ขณะคลอด
จัดท่าศีรษะสูงหรือ semirecumbent เพื่อป้องกันเลือดกลับสู่หัวใจอย่างกระทันหัน
ไม่คลึงมดลูกเพื่อให้รกคลอด เพราะจะเพิ่ม venous return
หลังรกคลอดทันทีต้องระวัง venous return ที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เพราะแรงดันในช่องท้องลดลง ทำให้เกิด bradycardia แล้วเกิด HF ได้
ดูแลให้ได้รับ Oxytocin ช่วยให้มดลูดหดรัดตัว ป้องกัน PPH
ห้ามใช้ Ergot (Methergin) เพราะทำให้ BP สูง
ดูแลให้ ABO เช่น Penicillin โดยเฉพาะ class II ขึ้นไป เพื่อป้องกัน Bacterial endocarditis
ดูแลให้ได้รับยา
Digoxin
ก่อนให้ต้องจับและนับชีพจรเต็ม 1 นาที (ุ60-100 bpm)
Replete if pulse<60 bpm & irregular ให้งดยาและรายงานแพทย์
Lasix
ให้ข้อมูลกับสตรีตั้งครรภ์และญาติโดยเฉพาะสามี เพื่อลดความกังวล คลายความเครียด
ระหว่างเจ็บครรภ์คลอด
สูติแพทย์จะให้รับยาระงับปวด
เมื่อถึงเวลาเบ่งคลอด แพทย์จะช่วยลอดด้วย V/E หรือ Outlet F/E เพื่อลดการเบ่งคลอดและลดระยะเวลาคลอดให้สั้นลง
ห้ามเบ่งคลอด เลี่ยงการเบ่งด้วยวิธี valsalva maneuver (กลั้นหายใจและปิดกล่องเสียง
ระยะหลังคลอด
นอนตะแคงศีรษะสูง ไม่เปลี่ยนท่านอนทันที
v/s q 15 นาที 4 ครั้ง