Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้การปรึกษาทางจิตวิทยา - Coggle Diagram
การให้การปรึกษาทางจิตวิทยา
คุณภาพแห่งจิตใจ
Toxic (Unhealthy)
สภาวะ
แคบ ตายตัว/มีมาตรฐาน คาดหวัง ไม่ให้โอกาส ไม่ให้อภัย ช่างตำหนิ เปรียบดทียบ there and then I'm OK' You're not OK. โทษฟ้าดิน คิดเอง เออเอง ปราถนาดี(แบบเก่า) มองโลกในแง่ร้าย
อาการ
เครียด เครียดแค้น น้อยใจ ไม่พอใจ โกรธ หงุดหงิด เอาชนะ เก็บตัว ขี้กลัว ลน ขี้บ่น
การสื่อสาร
พูดทำร้าย พูดอย่างมีอารมณ์ พูดให้ท้อ ถอย พูดประชดประชัน ปฏิเสธ อย่างก้าวร้าว ปฏิเสธไม่เป็น พูดมาก นึกถึงแต่ตนเอง นินทาว่าร้าย โอ้อวด ปกป้องตนเอง อ้อมค้อม
Tonic (Healthy)
อาการ
ร่าเริง เบิกบาน แจ่มใส มีชีวิตชีวา มีอารมณ์ขัน สนุกสนาน เป็นสุข มั่นคง
การสื่อสาร
พูดสร้างสรรค์ พูดมีเหตุผล พูดให้กำลังใจ พูดให้อภัย ปฏิเสธอย่างอ่อนโยน บอกกล่าวอย่างเข้าใจ พูดปลอบใจ นึกถึงพูดอื่น ยกย่อง ชมเชย สุภาพ อ่อนโยน สื่อสารได้ตรงกับความคิด
สภาวะ
กว้าง ยืดหยุ่น/อิสระ หวัง ให้โอกาส ให้อภัย ชื่นชมเป็น ไม่เปรียบเทียบ จริง กล้าเผชิญ ปราถนาดี(แบบใหม่)มองโลกในแง่ดี
คุณลักษณะที่ดีของผู้ให้การศึกษา
อดทนใจเย็น
สบายใจที่จะอยู่กับผู้อื่น
รู้จักและยอมรับตนเอง
จริงใจและตั้งใจช่วยเหลือผู้อื่น
มีท่าทีเป็นมิตร
มองโลกในแง่ดี
ไวต่อความรู้สึกของผู้อื่น ช่างสังเกต
ใช้คำพูดที่เหมาะสม
รู้จักใช้อารมณ์ขัน
เป็นผู้รับฟังที่ดี
ช่วยแก้ปัญหา
การให้การปรึกษาเชิงจิตวิทยา
กระบวนการที่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลระหว่างผู้ให้การปรึกษา (Counselor) ซึ่งทำหน้าที่เอื้ออำนวยให้ผู้รับคำปรึกษา (Counselee/Client)
การปรึกษาเป็นสะพานแห่งจิตใจ
ปัญหาของบุคคล มีการใช้คำเรียก
Split (รอยแยก)
Incongruence (ความไม่สอดคล้องกัน)
ทุกข์
Unfinished business (งานค้างใจ)
จุดมุ่งหมายของการให้การปรึกษา
จุดมุ่งหมายระยะสั้น
2.ส่งเสริมความสามารถของผู้รับบริการในการตัดสินใจและวางดครงการอนาคต
3.ส่งเสริมทักษะของผู้รับบริการในการแก้ปัญหาและวางโครงการอนาคต
1.ส่งเสริมการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปสู่แนวทางที่ต้องการ
จุดมุ่งหมายระยะยาว
ช่วยให้ผู้รับบริการเกิดการพัฒนาตนเองอย่างเต็มที่เป็นบุคคลที่มีประสิทธิภาพ
บทบาทหน้าที่และจรรยาบรรณ ของCO
2.ต้องรักษาข้อมูลไว้เป็นความลับ
1.เคารพปรักษาสวัสดิภาพของCIทุกสถานการณ์
3.การนําข้อมูลไปปรึกษาผู้ร่วมวิชาชีพต้องใช้วิจารณญาณ
4.การบันทึกเสียงปมีผู้สังเกตการณ์ Clต้องยินยอม
5.การนําข้อมูลไปใช้ในทางวิชาการต้องไม่กล่าวชื่อ-สกุลCI
6.เคารพในสิทธิและยอมรับความสามารถของCI
7.ให้CIพัฒนาตนเองเต็มศักยภาพ ไม่พึ่งพิงCo
8.ส่งต่อให้ผู้มีความชํานาญกว่า เมื่อพิจารณาว่าไม่สามารถช่วยเหลือได้ (Clยินยอม)
กรณีปัญหาของClเกี่ยวข้องกับการทําผิดกฎหมาย ต้องใช้วิจารญาณอย่าง เหมาะสมเพื่อให้ Crได้รับผลร้ายน้อยที่สุด
10.Coต้องปฏิบัติตนให้เหมาะสมในขอบเขตของศีลธรรมจรรยาที่ดีงาม ก่อให้เกิดความศรัทธาต่อผู้รับการปรึกษา
รูปแบบการให้กรปรึกษา
การให้การปรึกษาแบบรายบุคคล
การให้การปรึกษาแบบกลุ่ม
การใหการปรึกษาแบบครอบครัว
การให้การปรึกษาทางโทรศัพท์
การให้การปรึกษาผู้อยู่ในภาวะวิกฤต
การให้การปรึกษาผู้ติดสารเสพติด
จิตบำบัด(psychotherapy)
psychotherapy
ลักษณะปัญหา
รุนแรง ซับซ้อน ต้องใช้การช่วยอย่างเป็นระบบ ต้องใช้การร่วมกัน แก้ไขจากทีมสหวิชาชีพ
กระบวนการบำบัด
มักดึงข้อมูลจากระดับจิตสำนึก(conscious)และจิตไร้สำนึก(unconscious)
เป้าหมาย
บำบัดรักษาปัญหาทางจิตเวช เช่นภาวะซึมเศร้า เครียด วิตกกังวล ให้ลดลงและกลับสู่ภาวะสมดุล
ระยะเวลา
มักบำบัดระยะยาว 3-6 เดือน
สถานที่บำบัด
ในโรงพยาบาลหรือคลินิกสำหรับการบำบัดทางจิต
วิธีการบำบัด
อาศัยกระบวนการสร้างสัมพันธภาพและการสื่อสารเพื่อการบำบัดและเทคนิคบำบัดที่มีความซับซ้อนเช่น free association การสะกดจิต การวิเคราะห์ความฝัน
Counseling
สถานที่บำบัด
สถานที่ใดก็ได้ มีความเป็นส่วนตัวปลอดภัย ไม่มีเสียงรบกวน เช่น ห้องทำงานโรงเรียน
กระบวนการบำบัด
ข้อมูลอยู่ระดับจิตสำนึก
ระยะเวลา
ระยะสั้น 3-12 week
วิธีการบำบัด
อาศัยการสร้างสัมพันธภาพตามกระบวนการปรึกษา 5 ขั้นตอน การสร้างสัมพันธภาพและการสื่อสารเพื่อการบำบัด
ลักษณะปัญหา
ไมยุ่งยากซับซ้อน พบได้ทั่วไป เช่น การเรียน ความรัก
เป้าหมาย
สร้างเสริมสขภาพจิต ป้องกันปัญหาสุขภาพจิต พัฒนาทักษะการเผชิญปัญหา
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
4.แนวปัญญานิยม(Cognitive theory) :Aron T. Beck
3.แนวพฤติกรรมนิยม(Behavioral theory)
2.แนวมนุษยนิยม(Humanistic) : Carl R Rogers
1.แนวจิตวิเคราะห์(Psychoanalytic theory) :Freud