Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้การปรึกษาทางจิตวิทยา, นศพต.รวิสรา ราเหม เลขที่ 49 - Coggle Diagram
การให้การปรึกษาทางจิตวิทยา
ลักษณะผู้ที่มีสุขภาพจิตไม่ดี
Toxic (Unhealthy)
คุณภาพแห่งจิตใจ
มองโลกในแง่ร้าย
คิดเองเออเอง
โทษฟ้าดิน
I’m OK. You’re not OK.
เปรียบเทียบ
ช่างตําหนิ
ไม่ให้อภัย
ไม่ให้โอกาส
คาดหวัง
อาการ
เครียด
เคียดแค้น
น้อยใจ
ไม่พอใจ
โกรธ
หงุดหงิด
เอาชนะ
เก็บตัว
ขี้กลัว
ลน
ขี้บ่น
การสื่อสาร
พูดทําร้าย
พูดอย่างมีอารมณ์
พูดให้ท้อถอย
พูดประชดประชัน
ปฏิเสธอย่างก้าวร้าว
ปฏิเสธไม่เป็น
พูดมาก
นึกถึงแต่ตนเอง
นินทาว่าร้าย
โอ้อวด
ปกป้องตนเอง
อ้อมค้อม
ลักษณะผู้ที่มีสุขภาพจิตดี
Tonic (Healthy)
สภาวะ
กว้าง
ยืดหยุ่น/อิสระ
หวัง
ให้โอกาส
ให้อภัย
ชื่นชมเป็น
ไม่เปรียบเทียบ
here and now
I’m OK. You’re OK.
ยอมรับความจริง
กล้าเผชิญ
มองโลกในแง่ดี
อาการ
ร่าเริง
เบิกบาน
แจ่มใส
มีชีวิตชีวา
มีอารมณ์ขัน
สนุกสนาน
เป็นสุข
มั่นคง
การสื่อสาร
พูดสร้างสรรค์
พูดมีเหตุผล
พูดให้กําลังใจ
พูดให้อภัย
ปฏิเสธอย่างอ่อนโยน
บอกกล่าวอย่างเข้าใจ
พูดปลอบใจ
นึกถึงผู้อื่น
ยกย่อง ชมเชย
สุภาพอ่อนโยน
สื่อสารได้ตรงกับความคิด
คุณลักษณะที่ดีของผู้ให้การปรึกษา
รู้จักและยอมรับตนเอง
อดทน ใจเย็น
สบายใจที่จะอยู่กับผู้อื่น
จริงใจและตั้งใจช่วยเหลือผู้อื่น
มีท่าทีเป็นมิตร
มองโลกในแง่ดี
ไวต่อความรู้สึกของผู้อื่น ช่างสังเกต
ใช้คําพูดที่เหมาะสม
รู้จักใช้อารมณ์ขัน
เป็นผู้รับฟังที่ดี
ช่วยแก้ปัญหา
การให้การปรึกษาเชิงจิตวิทยา
เป็นศิลปะวิธีการสื่อสารอันอ่อนโยน มีจุดมุ่งหมายเพื่อแบ่งเบาความกดดันทางจิตใจ และนําไปสู่กระบวนการพัฒนาศักยภาพมนุษย์ให้เจริญงอกงามยิ่งขึ้น
ปัญหาของบุคคลมีการใช้คําเรียก ดังนี้
ทุกข์
Split (รอยแยก)
Incongruence (ความไม่สอดคล้องกัน)
Unfinished business (งานค้างใจ)
จุดมุ่งหมายของการให้คำปรึกษา
จุดมุ่งหมายระยะสั้น
ส่งเสริมการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ไปสู่แนวทางที่ต้องการ
ส่งเสริมความสามารถของผู้รับบริการในการตัดสินใจ และวางโครงการอนาคต
ส่งเสริมทักษะของผู้รับบริการในการแก้ปัญหา และวางโครงการอนาคต
จุดมุ่งหมายระยะยาว
ช่วยให้ผู้รับบริการเกิดการพัฒนาตนเองอย่างเต็มที่ เป็นบุคคลที่มีประสิทธิภาพ
บทบาทหน้าที่และจรรณยาบรรณของ CO
เคารพ/รักษาสวัสดิภาพของ Cl ทุกสถานการณ์
ต้องรักษาข้อมูลไว้เป็นความลับ
การนําข้อมูลไปปรึกษาผู้ร่วมวิชาชีพต้องใช้วิจารณญาณ
การบันทึกเสียง/มีผู้สังเกตการณ์ Cl ต้องยินยอม
การนําข้อมูลไปใช้ในทางวิชาการต้องไม่กล่าวชื่อ–สกุลCl
เคารพในสิทธิและยอมรับความสามารถของ Cl
ให้ Cl พัฒนาตนเองเต็มศักยภาพไม่พึ่งพิง Co
ส่งต่อให้ผู้มีความชํานาญกว่าเมื่อพิจารณาว่าไม่สามารถช่วยเหลือได้ (Clยินยอม)
กรณีปัญหาของ Cl เกี่ยวข้องกับการทําผิดกฎหมายต้องใช้วิจารญาณอย่างเหมาะสม เพื่อให้ Cl ได้รับผลร้ายน้อยที่สุด
Co ต้องปฏิบัติตนให้เหมาะสมในขอบเขตของศีลธรรมจรรยาที่ดีงาม ก่อให้เกิดความศรัทธาต่อผู้รับการปรึกษา
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
1.แนวจิตวิเคราะห์ (Psychoanalytic theory)
เชื่อว่าพฤติกรรมที่ผิดปกติ เกิดระดับจิตใต้สํานึกและความขัดแย้งในอดีต
2.แนวมนุษยนิยม (Humanistic theory)
มองมนุษย์ในทางบวก เชื่อว่ามนุษย์มีศักยภาพในการพัฒนาตนเองให้ดีขึ้น บุคคลมีความสามารถที่จะทําความเข้าใจตนเองเข้าใจปัญหา และแก้ไขปัญหาชีวิตได้
แนวพฤติกรรมนิยม (Behavioral theory)
เชื่อว่าพ.ก.ของมนุษย์เกิดจากป.ส.ก.การเรียนรู้บุคคลที่เจ็บป่วย เกิดจากการเรียนรู้ที่ผิดจากบุคคลและสิ่งแวดล้อม
แนวปัญญานิยม (Cognitive theory)
เชื่อว่าความนึกคิดมีผลต่ออารมณ์ความรู้สึก และพฤติกรรมการปรับเปลี่ยนความคิด จะทําให้อารมณ์ความรู้สึกพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงได้
นศพต.รวิสรา ราเหม เลขที่ 49