Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 ระบบบริการสุขภาพและการปฏิรูปการคลัง, นางสาวรสสุคนธ์ …
บทที่ 7
ระบบบริการสุขภาพและการปฏิรูปการคลัง
การปฏิรูปทางกรคลังของระบบบริการสุขภาพประเทศไทย
แนวคิดการปฏิรูประบบสุขภาพควรมีระบบเชิงรุกเพื่อสร้างสุขภาพดี
ระบบส่งเสริมสุขภาพ
ระบบการป้องกันโรคและการควบคุมโรค
ระบบบริการสุขภาพที่เป็นธรรม
การประยุกต์หลักเศรษฐศาสตร์
พฤติกรรมของผู้ใช้บริการสาธารณสุขและพฤติกรรมการจัดบริการสุขภาพ
ค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุขของประเทศ
ระบบการคลังสาธารณะสุข
ระบบประกันสุขภาพ
เศรษฐศาสตร์กับการวิเคราะห์และประเมินผลเพื่อพัฒนางานบริการสาธารณสุข
ลักษณะพิเศษของเศรษฐศาสตร์สุขภาพ
เป็นสินค้าคุณภาพ
มีทางเลือกสำหรับผู้บริโภคแต่อจไม่ตรงกับความต้องการของผู้บริโภคทุกรายและการบริโภคอาจมีผลต่อบุคคลอื่น
มีความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์จุลภาค
มีประโยชน์สูงสุดกับประชาชนเพื่อบำบัดความจำเป็นด้านสุขอนามัยให้ได้มากที่สุด
ระบบสาธารณสุขของประเทศ
การจัดบริการสุขภาพแบบตลาดแข่งขัน (Entrepreneurial health system)
การจัดระบบบริการสุขภาพแบบสังคมนิยม(Socialist health system)
การจัดระบบบริการสุขภาพแบบรัฐสวัสดิการ(Welfare Oriented health system)
การเงินการคลังสาธารณสุข
บัญชีสุขภาพแห่งชาติคือแม่แบบของการบริหารเงินทางระบบสุขภาพจาก gency ไปสู่ค่าใช้จ่ายต่างๆ
บัญชีสุขภาพเกี่ยวกับ
จ่ายไปเท่าไหร่ทั้งหมดต่อ% GDP
จ่ายไปกับบริการประเภทใดเช่นกันดูแลสุขภาพของประชาชน ,การลงทุนต่างๆ
จะไปกับสาธารณะ
ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ National health expenditure
ใช้บริการสูงขึ้นจากประชากร+ผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น
ประชากรมีรายได้มากขึ้น
มีประกันสุขภาพที่ครอบคลุมมากขึ้น
การเปลี่ยนแปลงสถานะการและความชุกของโรค
สถานะ 3 กองทุนสุขภาพ
หลักประกันสุขภาพ
งบประมาณ 120,846ล้านบาท(รัฐสมทบ100%)
ผู้มีสิทธิ์47.7ล้านคน ใช้จ่าย2,755บาท/คน
กองทุนข้าราชการ
งบประมาณ62, 195ล้านบาท(รัฐสมทบ100%)
ผู้มีสิทธิ4.9ล้านคน ค่าใช้จ่าย 11,000-12,000บาท/คน
กองทุนประกันสังคม
งบประมาณ846,544ล้านบาท(รัฐสมทบ33.3%)
ผู้มีสิทธิ์10.4ล้านคน ค่าใช้จ่าย2,1058/คน
แผนพัฒนาสาธารณสุขแห่งชาติฉบับที่ 21 กับการพัฒนาคนาคต
หลักการสำคัญของแผนฯ 12
คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา นำไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลสัฤทธิ์อย่างจริงจังใน 5ปี และต่อยอด
เป้าหมายอนาคตประเทศไทยปี 2579
วิสัยทัศน์ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
เป้าหมายและวัตถุประสงค์รวมของแผนฯ 12
เพื่อวางรากฐานให้คนไทยเป็นคนที่สมบูรณ์
เพื่อให้คนไทยมีความมัคงทางเศรษฐกิจและสังคม
เพื่อเศรษฐกิจเข้มแข็งแข่งข้ได้มีเสถียรภาพและมีความยั่งยืน
เพื่อรักษาและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดล้อม
เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินมีประสิทธิภาพโปร่งใสทันสมัย
เพื่อผลักดันให้ประเทศไทยมีความเชื่อมโยง
10 ยุทธศาสตร์แผนฯ12
การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์
การสร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้ำในสังคม
การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน
การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
การเสริมสร้างความมัคงแห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศสู่ความมั่งคั่งและยั่งยืน
การบริหารจัดการในภาครัฐการป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาลในสังคมไทย
การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์
การพัฒนาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีวิจัยและนวัตกรรม
การพัฒนาภาคเมืองและพื้นที่เศรษฐกิจ
ความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนา
Thailand 4.0
ปรัชาของเศรฐกิจพอเพียง
พอประมาณ
มีเหตุผล
มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
สรุปหลักในการพัฒนาระบบสุขภาพพอเพียง
การสร้างวัฒนธรรมสุขภาพและวิถีชีวิตที่มีความสุขในสังคมแห่งปีสุขภาวะการสร้างระบบบริกรสุขภาพและการแพทย์ที่ผู้รับบริการอุ่นใจผู้ให้บริการมีความสุข
การสร้างระบบภูมิคุ้มกัน
การสร้างทางเลือกที่หลากหลายผสมผสานภูมิปัญญาไทยละสากล
การสร้างระบบสุขภาพฐนความรู้ด้วยการจัดการความรู้
สร้างเอกภาพและทำภิบาลในกรจัดการระบบสุขภาพ
นโยายและกฎหมายที่สนันสนุนงานสาธารณสุข
นโยบายการสร้างเสริมสุขภาพ
นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ธรรมนูญสุขภาพ
นางสาวรสสุคนธ์ แข็งแรง
รหัสนักศึกษา 6201110801047 เลขที่ 41