Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เมแทบอลิซึมของลิพิด, นางสาว ธนพร จวงครุฑ เลขที่ 42 ปี 1 - Coggle Diagram
เมแทบอลิซึมของลิพิด
The carnitine shuffle
- เริ่มจาก fatty acyl Co Aจะต้องเข้าสู่matrixเพื่อทำปฎิกิริยา
- Co A จะต้องเปลียนเป็น Carnitine ก่อน ถึงจะเข้าไปใน Maxtrix ได้
- เมื่อเข้าใน Maxtrix แล้ว Carnitine จะหลุดออก แล้วเปลี่ยนเป็น Co A เหมือนเดิม
- Carnitine กลับไปทำหน้าที่เหมือนเดิม
Lipid uptake
กรดไขมันอิสระจะรวมตัวกับเกลือน้ำดีเป็นสารละลายไมเซลล์อยู่ภายในลำไส้เล็กและถูกดูดซึมเข้าสู่ไมโครวิลไลของเซลล์เยื่อบุผนังลำไส้เล็ก
-
-
ลิพิดที่ย่อยแล้วส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของกรดไขมันอิสระประมาณ 70 เปอร์เซ็นต์และอยู่ในรูป 2-มอโนกลีเซอไรด์ประมาณ 25 เปอร์เซ็นต์
ไตรกลีเซอไรด์ที่ถูกสร้างขึ้นใหม่ภายในเซลล์เยื่อบุผนังลำไส้เล็กจะถูกขนย้ายไปตามท่อน้ำเหลืองในรูปของอิมัลชันเรียกว่า “chyle” หรือไคโลไมครอน
ถูกห่อหุ้มด้วยโปรตีนเป็นอนุภาคคอลลอยด์และถูกปล่อยออกจากเซลล์เยื่อบุผนังลำไส้เล็กเข้าสู่ระบบท่อน้ำเหลือง และถูกส่งต่อไปยัง thoracic duct และต่อไปยังระบบเลือด
ลิพิดในอาหารที่กินเข้าไป ประมาณ 60-70 เปอร์เซ็นต์จะถูกย่อย ดูดซึมและขนย้ายโดยวิธีนี้ ส่วนที่เหลืออีกประมาณ 30 เปอร์เซ็นต์ จะเป็นพวกกรดไขมันอิสระที่มีโมเลกุลขนาดเล็กทำให้ละลายได้ในน้ำและจะถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดโดยตรง
การสังเคราะห์กรดไขมัน
-
การสังเคราะห์กรดไขมัน จะเริ่มดันจาก Acetyl CoA แล้วค่อย ๆ เพิ่มจำนวนคาร์บอนขึ้นครั้งละ 2 อะตอม จนได้กรดไขมันที่มีจำนวนคาร์บอนตามต้องการ
การสังเคราะห์กรดไขมัน จะสังเคราะห์เมื่อเซลล์มีพลังงานเพียงพอ และมี Acetyl CoA เหลือใช้ แต่เอนไซม์ที่ใช้สังเคราะห์มีอยู่ในไซโตพลาสซึม ดังนั้นจึงจำเป็นต้องนำเอา Acetyl CoA ออกมาจากไมโตคอนเดรียก่อน
คีโตนบอดี้
สารคีโทนบอดีส์ เป็นกลุ่มของสารประกอบที่สังเคราะห์ได้ในร่างกายเมื่อมีเมแทบอลิซึมของไขมันเพิ่มขึ้นมาก จะมีสารคีโทนบอดีส์สังเคราะห์จากแอซีทิลโคเอมากขึ้นกว่าปกติ เรียกว่าภาวะคีโตซีส (ketosis)
สารกลุ่มนี้มีฤทธิ์เป็นกรดประกอบด้วย แอซีโตน กรดแอซีโตแอซีติก และกรดบีตา-ไฮดรอกซีบิวทิริก คนที่เป็นโรคเบาหวานอย่างรุนแรงจะมีสารคีโทนบอดีส์ในเลือดสูงกว่าปกติ อาทำให้เกิดภาวะเลือดเป็นกรด (acidosis) และพบสารคีโทนบอดีส์ในปัสสาวะ เช่น อาจมีกลิ่นแอซีโตนในปัสสาวะ อาจเรียกภาวะผิดปกติเหล่านี้ว่า คีโทแอซิโดซิส Ketoacidosis
กรณีที่ร่างกายได้รับกลูโคสน้อย เช่น ผู้ป่วยเบาหวาน ขาดอินซูลินที่ลำเลียงกลูโคสข้าสู่เซลล์ เซลล์ต้องสลายกรดไขมันเพื่อใช้สร้างพลังงาน ปริมาณ acetyl CoA จะสูงขึ้น
-
-
-