Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การผลิตโพลิโคลนอลแนติบอดีจำเพาะต่อไวเทลโลจีนินในพลาสมาของปลากะรังจุดฟ้า,…
การผลิตโพลิโคลนอลแนติบอดีจำเพาะต่อไวเทลโลจีนินในพลาสมาของปลากะรังจุดฟ้า
อุปกรณ์
Hormone 17-เบต้า เอสตราไดออล
เข็มรูปผีเสื้อ
เนื้อปลาข้างเหลืองสด
หลอดเคลือบด้วยเฮพรินาและ PMSF
บ่อปูนขนาด 15 ตัน
หนูขาวอายุ 6 สัปดาห์
ปลากะรังจุดฟ้าเพศเมีย 5ตั้ง
การทำไวเทลโลจีนินให้บริสุทธิ์
การตรวจสอบความบริสุทธิ์ด้วยวิธี SDS-PAGE
การแยกไวเทลโลจีนินจากพลาสมาโดยการใช้คอลลัมชนิดต่างๆ
การผลิตโพลิโคลนอนแอนติบอดี
3.ครั้งที่ 2-4 จะผสม incomplete freund's adjuvant
4.เก็บเลือดหนูทางเบ้าตา
2.ฉีดสารเข้าช่องท้องหนูขาว 4 ตัว ตัวละ 100 ul 4ครั้ง 2 สัปดาห์
5.นำมาปั่นเหวี่ยงที่ 500 รอบ/นาที 15 นาที นำเซรั่มเก็บไว้ที่อุณหภูมิ -20 องศาเซลเซียส
1.นำโปรตีนพีคที่ 3ที่อยกได้จากคอลลัมไฮดรอกซิลอะพาไทด์มาผสมกับ complet freund's adjuvant 1:1
การตรวจสอบความจำเพาะของโพลิโคลนอนแอนติบอดี
ตรวจสอบความจำเพาะด้วยเทคนิค double immunodiffusion
ตรวจสอบหาความจำเพาะด้วยเทคนิค Dot blot
ตรวจสอบความถี่จำเพาะด้วยเทคนิค western blot
ผลการทดลองและอภิปรายผล
Hormone 17-เบต้า เอสตราไดออล มีผลต่อการสร้างโปรตีนพลาสมา และเมื่อนำโปรตีนที่แยกโดย SDS-PAGE พบความแตกต่างของโปรตีน โดยจะมีแถบโปรตีนขึ้นเยอะกว่าปลาที่ไม่ได้ฉีด
61030668 จิตรลดา มนต์อ่อน