Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรวิทยาของภาวะสมดุล กรด-ด่างในร่างกาย - Coggle Diagram
พยาธิสรีรวิทยาของภาวะสมดุล กรด-ด่างในร่างกาย
การควบคุมสมดุลกรด-ด่าง
คือ การควบคุม ไฮโดรเจนไอออนในน้านอกเซลล์ หรือควบคุม pH ให้มี ค่าคงที่ คือ 7.35-7.45 ทาให้การทางานของเอ็นไซม์และเมตะบอลิซมึ ปกติ
การควบคุมผ่านการหายใจ (Respiratory regulation)
ศูนย์หายใจใน medulla จะไวมากต่อระดับ CO2 และความเป็นกรดของเลือด ถ้ามีการเพิ่มขึ้น ของอย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งสองอย่าง จะทาให้มีการหายใจเพิ่มขึ้น เพื่อให้ pH กลับเข้าสู่ภาวะปกติได้
การควบคุมโดยไต (Kidney excretion)
เป็นกลไกสาคัญในการรักษา ภาวะสมดุลของกรด – ด่างของร่างกาย ทางานช้ากว่าระบบอื่น แต่มี ประสิทธิภาพสูง ขับกรดจาก metabolism (โปรตีน,ไขมัน,คาร์โบไฮเดรต)
ความผิดปกตขิองสมดุลกรด-ด่าง
Metabolic acidosis: เป็นภาวะที่ HCO3 ลดลง ส่งผล pH ลดลง
Metabolic alkalosis: เป็นภาวะที่ HCO3 เพิ่ม ส่งผล pH เพิ่ม
Respiratory alkalosis: เป็นภาวะที่ PaCO2 ลด ส่งผล pH เพิ่มขึ้น
Respiratory acidosis: เป็นภาวะที่ PaCO2 ในเลือดมากกว่า 45 mmHg ส่งผล pH ลดลง
ความผิดปกติของสมดุลด่าง (alkalosis)
ความผิดปกติของสมดุลกรด (acidosis)
Respiratory acidosis: CO2 ถูกกําจัดออกจํากร่สงกาย ได้น้อยกว่าปริมําณที่เพิ่มขึ้น เลือดมีค่า PaCO2 มํากกว่า45 mmHg
Metabolic alkalosis: ภําวะมี HCO3 ในเลือดสูงจํากกํารได้รับมําก หรืออําจเกิดจํากเสียกรดออกไปจํากร่างกาย
Respiratory Alkalosis: เกิดจํากกํารหํายใจเพิ่มขึ้น (hyperventilation) ทําให้ CO2 ออกจากร่างกายเกินไประดับ PaCO2 ในเลือดน้อยกว่า35 mmHg
ค่า pH ของเลือดมากกว่า 7.45 สัดส่วน HCO3/PaCO2 มํากกว่า 22.4:1 (HCO3- มํากกว่า 26 mEq/L)
ความผิดปกตขิองสมดุลกรด-ด่าง
Metabolic acidosis: เป็นภาวะที่ HCO3 ลดลง ส่งผล pH ลดลง
Respiratory acidosis: เป็นภาวะที่ PaCO2 ในเลือดมากกว่า 45 mmHg ส่งผล pH ลดลง
Metabolic alkalosis: เป็นภาวะที่ HCO3 เพิ่ม ส่งผล pH เพิ่ม
Respiratory alkalosis: เป็นภาวะที่ PaCO2 ลด ส่งผล pH เพิ่มขึ้น
ความผิดปกติของสมดุลกรด (acidosis)
Metabolic acidosis: เกิดกรดไม่ระเหยจํากเมตะบอลิซึม เช่น กรดคี
โตน กรดแลกติก หรือเกิดจํากเสียด่างออกไปจํากร่สงกาย เช่น ท้องเสีย หรือ เกิดจํากไตขับถ่ายกรดออกไป จํากร่สงกายได้น้อยกว่าปกติ ทําให้ กรดอยู่ในร่างกายขึ้น
ค่า pH ของเลือด < 7.35 (สัดส่วน HCO3/PaCO2 ต่ำกว่า 17.8:1) (HCO3 น้อยกว่า 22 mEq/L)
Respiratory acidosis: CO2 ถูกกําจัดออกจํากร่างกาย
ความผิดปกติของสมดุลด่าง (alkalosis)
Respiratory Alkalosis: เกิดจํากกํารหํายใจเพิ่มขึ้น (hyperventilation) ทําให้ CO2 ออกจํากร่างกํายมํากเกินไประดับ PaCO2 ในเลือดน้อยกว่า 35 mmHg
Metabolic alkalosis: ภําวะมี HCO3 ในเลือดสูงจํากกํารได้รับมําก หรืออําจเกิดจํากเสียกรดออกไปจํากร่างกําย
ค่า pH ของเลือดมากกว่า 7.45 สัดส่วน HCO3/PaCO2 มํากกว่า 22.4:1 (HCO3- มํากกว่า 26 mEq/L)
Compensatory mechanism
Partially Compensated state:
Complete compensated state
ร่างกํายปรับตัวบํางส่วนแต่ไม่สํามํารถปรับ pH ให้ ปกติได้
การผลิตกรดในร่างกาย
Oxidation ของสารประกอบคาร์บอน เช่น กลูโคส, กรดไขมัน ฯลฯ ทาให้เกิด CO2 อัตราการเกิดขึ้นอยู่กับอัตราเมตะบอลิซึม ซึ่งถูกกาจัดออกจากร่างกาย ทางการหายใจ
ระบบบัฟเฟอร์ (Buffer systems)
ระบบไบคาร์บอเนต/กรดคาร์บอนิก
2.ระบบฟอสเฟต (HPO4-2/H2PO-4 = 4:1)
ระบบโปรตีน (Pr-/HPr = 4:1 และ Hb-/HHb = 4:1) โปรตีน
หลายชนิดในเลือด ได้ เฮโมโกลบิน อัลบูมิน
กลไกการปรับชดเชย
ปรับผ่าน Buffering system:
ปรับผ่าน Respiratory compensation:
ปรับผ่าน Renal compensation: