Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้การปรึกษาทางจิตวิทยา - Coggle Diagram
การให้การปรึกษาทางจิตวิทยา
กระบวนการให้คำปรึกษาทางจิตวิทยา
(Process of Counseling)
1.แบบรายบุคคล
มี 5 ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 การสร้างสัมพันธภาพ
ขั้นตอนที่ 2 ขั้นสำรวจปัญหา
ขั้นตอนที่ 3 ขั้นการเข้าใจปัญหา สาหตุ และความต้องการ
ขั้นตอนที่ 4 ขั้นวางแผนแก้ปัญหา
ขั้นตอนที่ 5 ขั้นยุติการปรึกษา
ลักษณะของปัญหาที่เหมาะกับการให้การปรึกษา
1.ปัญหาค้ำพอารมณ์ ความคิด ความรู้สึก
2 .ปัญหาส่วนตัว
3 . ปัญหาการปรับตัวค้นต่างๆ รวมถึงการพัฒนาตนเอง
4 . การแก้ปัญหา การตัดสินใจในสภาพการณ์เฉพาะราย เฉพาะเรื่อง
2.แบบกลุ่ม
คือ
• กระบวนการให้การปรึกษาแก่ผู้มารับการปรึกษา ตั้งแต่ 2 กนขึ้นไป โดยทั่วไปประมาณ 6-10 คน
• กลุ่มประกอบด้วยผู้นำกลุ่ม (leader facilitator) และสมาชิกกลุ่ม (member) อาจมีผู้ช่วยผู้นำกลุ่ม (co-leader) หรือไม่ก็ได้
• เข้ากลุ่มอย่างต่อเนื่องอาทิตย์ละไม่ต่ำกว่า 1ครั้ง ครั้งละไม่ต่ำกว่า 90 นาที
แบ่งได้ ดังนี้
1.ตามลักษณะการรับสมาชิก
2.แบ่งตามเทคนิคการดำเนินกลุ่ม
3.แบ่งตามวัตถุประสงค์การรักษา
วัตถุประสงการให้การปรึกษาแบบกลุ่ม
เพื่อให้สมาชิก
• ระบายความกับข้องใจและความวิตกกังวล
• เข้าใจความรู้ตึกและพฤติกรรมของตนเองดีขึ้น
• เข้าใจและยอมรับปัญหาของตนเองมากขึ้น
• มีกำลังใจ มีแนวทางในการแก้ไขปัญหาและเผชิญปัญหา
• รู้จักกฎระเบียบและการแสดงออกทางความคิดเมื่ออยู่ในสังคมได้อย่างเหมาะสม
กระบวนการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
แบบกลุ่ม มี 3 ขั้นตอน คือ
ระยะเริ่มต้น (beginning phase)
ระยะกลาง (middle phase) ระยะแก้ไขปัญหา (working phase)
ระยะยุติหรือระยะสิ้นสุด (termination phase)
ปัจจัยบำบัด (therapeutic factors)
มีทั้งหมด 11 ปัจจัย
การมีความหวัง (instillation of hope) เป็นการสร้างความหวังให้กับผู้ป่วยโดยการเห็นสมาชิกในกลุ่มดีขึ้น
ความรู้สึกอันเป็นสากล (universality) เกิดความรู้สึกว่าตนเองไม่ได้เป็นผู้ที่มีปัญหาอยู่คนเดียว
การได้รับข้อมูล (imparting information) สมาชิกในกลุ่มจะได้รับข้อมูลต่าง ๆ ทั้งทางตรงและทางอ้อม
การรู้สึกได้ทำประโยชน์ (altruism) การที่สมาชิกรู้สึกว่าได้ช่วยเหลือบุคคลอื่น
การแก้ไขประสบการณ์เดิมในครอบครัว (corrective recapitulation of the family group)
การพัฒนาเทคนิคเพื่อการเข้าสังคม development of social techniques)
การเลียนแบบพฤติกรรม (imitative behavior) จากสมาชิกกลุ่มหรือจากผู้นำกลุ่มโดยผ่านการสังกตการมีปฏิสัมพันธ์ของคนอื่นว่าได้รับการตอบสนองอย่างไร
การระบายอารมณ์ (catharsis)
การเรียนรู้ความจริงอันเป็นสัจธรรม (existential factors)
ความรู้สึกผูกพันเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน (cohesiveness)
การเรียนรู้วิธีที่จะติดต่อและสร้างความสัมพันธ์กับบุคคลอื่น (interpersonal learning) โดยกลุ่มถือเป็นสังคมจำลอง
การให้การปรึกษาทางจิตวิทยา
(Counseling psychology)
รูปแบบการให้การปรึกษา
ㆍการให้การปรึกษาแบบรายบุคคล
ㆍการให้การปรึกษาแบบกลุ่ม
ㆍการให้การปรึกษาแบบครอบครัว
ㆍ การให้การปรึกษาทางโทรศัพท์
ㆍการให้การปรึกษาผู้อยู่ในภาวะวิกฤต
ㆍการให้การปรึกษาผู้ติดสารเสพติด
จุดมุ่งหมายของการให้การปรึกษา
จุดมุ่งหมายระยะสั้น
ส่งเสริมการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปสู่แนวทางที่ต้องการ
ส่งเสริมความสามารถของผู้รับบริการในการตัดสินใจและวางโครงการอนาคต
ส่งเสริมทักษะของผู้รับบริการในการแก้ปัญหาและวางโครงการอนาคต
จุดมุ่งหมายระยะยาว
ช่วยให้ผู้รับบริการเกิดการพัฒนาตนเองอย่างเต็มที่เป็นบุคคลที่มีประสิทธิภาพ (The fully functioning person)
การให้การปรึกษาเชิงจิตวิทยา
หมายถึง
• กระบวนการที่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบดคลระหว่าง ผู้ให้การปรึกษา (Counselor) ซึ่งทำหน้ที่เอื้ออำนวยให้ผู้รับการปรึกษา (Counselee/Client)
• ได้สำรวจและทำความเข้าใจในปัญหาและเลือกหนทางแก้ไขปัญหาเหล่านั้นได้ด้วยตนเอง
• เป็นศิลปะวิธีการสื่อสารอันอ่อนโยนมีจุดงหมายเพื่อแบ่งเบาความกดดันทางจิตใจและนำไปสู่กระบวนการพัฒนาศักยภาพมนุษย์ให้เจริญงอกงามยิ่งขึ้น "การปรึกษาเป็นสะพานแห่งจิตใจ"
คุณลักษณะที่ดีของผู้ให้การปรึกษา
• รู้จักและยอมรับตนเอง
• อดทน ใจเย็น
• สบายใจที่จะอยู่กับผู้อื่น
• จริงใจและตั้งใจช่วยเหลือผู้อื่น
• มีท่าทีเป็นมิตร
• มองโลกในแง่ดี
• ไวต่อความรู้สึกของผู้อื่น ช่างสังเกต
• ใช้คำพูดที่เหมาะสม
• รู้จักใช้อารมณ์ขัน
• เป็นผู้รับฟังที่ดี
• ช่วยแก้ปัญหา
ทักษะการให้การปรึกษาเชิงจิตวิทยา
5.การเงียบ
6.การทวนซ้ำ
4.การฟังที่ชัดเจน
7.การสะท้อนความรู้สึก
3.การติดตามเรื่องราว
8.การสรุป
9.การชี้ให้เห็นผลที่ตามมา
10.การ์ให้ข้อมูลคำแนะนำ
2.การ์ใช้คำาถาม
11.การ์ให้กำลังใจ
1.การต้อนรับ/ทักทาย
12.การส่งต่อผู้เชี่ยวชาญ