Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 10 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพระบบโลหิต ระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง …
บทที่ 10 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพระบบโลหิต ระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง
Anemia
รูปแบบของAnemia
Rbcขนาดเล็กMicrocytic
anemia
Iron study
Rbc ขนาดใหญ่ Macrocytic anemia
Blood film Megaloblastic anemia
Blood film Non Megaloblastic anemia
Rbc ขนาดปกติ Normocytic anemia
Reticulocyte count สูง
Reticulocyte count ต่ำ
ปัจจัยของ ANEMIA
ไขกระดูกสร้างเม็ดเลือดแดงได้ลดลง
โรคของไขกระดูก Aplastic anemia
ไตวายเรื้อรัง Erythropoeitin ลดลง
ไทรอยด์ทำงานต่ำ
การตรวจวินิจฉัย
CBC
LDH
Bilirubin
อาหาร
ผักใบเขียว
ผลไม้อบแห้ง
ตับ
Leukemia
มะเร็งเม็ดเลือดขาว
อาการ
รู้สึกอ่อนเพลียหรือเหนื่อยล้าอย่างต่อเนื่อง
มีไข้ หนาวสั่น
เหงื่อออกมาก โดยเฉพาะในตอนกลางคืน
การวินิจฉัย
การตรวจเลือด
การตรวจไขกระดูก
การตรวจภาพถ่ายรังสี
การรักษา
เคมีบำบัด
ภูมิคุ้มกันบำบัด
รังสีบำบัด
Bleeding Disorder
TYPES OF BLEEDING DISORDERS
hemophilia B
von Willebrand disease
hemophilia A
SYMPTOMS
ประจำเดือนมามาก
เลือดออกในข้อ
เลือดออกตามผิวหนัง
TREATMENT
DDAVP
Lymphoma
อาการและอาการแสดง
1.ต่อมน้ำเหลืองโต
2.เหงื่อออกตอนกลางคืน
6.ซีดหรือเลือดออกง่าย
3.มีไข้
5.คันทั่วร่างกาย
4.เบื่ออาหาร
สาเหตุ
เซลล์มะเร็งต่อมน้ำเหลืองเกิดขึ้นเมื่อ DNA ของเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิดลิมโฟไซต์ในน้ำเหลืองเกิดการกลายพันธุ์ ทำให้ลิมโฟไซต์เปลี่ยนเป็นเซลล์ที่ผิดปกติ และเกิดการแบ่งตัวที่ไม่สามารถควบคุมได้ ถูกสะสมในระบบน้ำเหลือง จนกลายเป็นเซลล์มะเร็งในที่สุด ทั้งนี้นักวิทยาศาสตร์ก็ยังไม่สามารถหาสาเหตุแท้จริงที่ทำให้ DNA เกิดการกลายพันธุ์และเจริญเป็นเซลล์มะเร็งได้
อายุ พบในผู้สูงอายุมากกว่าบุคคลที่มีอายุน้อย
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกายเบื้องต้น
การตรวจเลือด FBC (Full blood count)
การตัดเนื้อเยื่อไปตรวจ
การสร้างภาพทางด้านรังสีวิทยา
การรักษา
การรักษามะเร็งต่อมน้ำเหลืองนั้นแตกต่างกันไปในผู้ป่วยแต่ละราย ซึ่งขึ้นอยู่กับประเภทของมะเร็ง ระยะของมะเร็ง และเป้าหมายในการรักษาเป็นหลัก โดยวิธีการรักษามะเร็งต่อมน้ำเหลือง
การใช้ยา
การใช้เคมีบำบัด (Chemotherapy)