Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างเครื่องมือประเมินการเรียนรู้ ด้านจิตพิสัย - Coggle…
การสร้างเครื่องมือประเมินการเรียนรู้ ด้านจิตพิสัย
การวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
กําหนดเกณฑ์การประเมินเป็นรายพฤติกรรมบ่งชี้ตามระดับการศึกษา
ระดับประถมศึกษา (ป.4-ป.6)
ระดับมัธยมศึกษา (ม.1-ม.3)
ระดับประถมศึกษา (ป.1-ป.3)
ระดับมัธยมศึกษา (ม.4-ม.6)
เกณฑ์ในการเลื่อนชั้นและจบระดับการศึกษา
หลักฐาน/ร่องรอย
ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของคะแนนในรายวิชา
การประเมิน
ใช้ข้อมูลจากการสังเกตพฤติกรรม สถานศึกษาควรจัดให้
มีการประเมินเป็นระยะ ๆ
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ไม่ใช้เนการให้คะแนนระหว่างเรียน
กับคะแนนปลายปี/ปลายภาค
การสรุปผลการประเมิน
ผ่าน
ไม่ผ่าน
ดี
ดีเยี่ยม
คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
อยู่อย่างพอเพียง
มุ่งมั่นในการทํางาน
ใฝ่เรียนรู้
รักความเป็นไทย
มีวินัย
มีจิตสาธารณะ
ซื่อสัตย์สุจริต
รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
บทบาทของครู
ศึกษาทําความเข้าใจ
ออกแบบการวัดและประเมินผลคุณลักษณะอันพึงประสงค์
2.3 เลือกใช้วิธีการ เครื่องมือ ให้เหมาะสม
2.4 ระยะเวลาในการประเมิน
2.2 วิเคราะห์พฤติกรรมสําคัญจากพฤติกรรมบ่งชี้ที่จะประเมิน
2.5 ผู้ประเมิน
2.1 กําหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์/ตัวชี้วัด/พฤติกรรมบ่งชี้ที่จะประเมิน
การสรุปผลการประเมิน
องค์ประกอบหลักของจิตพิสัย
ทิศทาง (direction)
ความเข้ม (intensity)
เป้าหมาย (target)
ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ระดับก่อนจริยธรรม
เน้นการลงโทษและการเชื่อฟัง
การเลือกกระทําเพื่อความพอใจของตน
ระดับเหนือกฎเกณฑ์
หลักการกระทําตามสัญญาของสังคม
ถือหลักจริยธรรม หลักธรรมแบบสากล
ระดับปฏิบัติตามแบบแผนกฎเกณฑ์จริยธรรม
หลักจริยธรรมเด็กดีตามที่ผู้อื่นเห็นชอบ
หลักจริยธรรมทําตามกฎเกณฑ์
วิธีการวัดและประเมินจิตพิสัย
การจําแนกตามประเภทของผู้ทําการประเมิน
การประเมินตนเอง
การให้ผู้อื่นประเมิน
การจําแนกตามวิธีการเก็บข้อมูล
การซักถาม/สัมภาษณ์
การใช้แบบวัดสถานการณ์
การใช้มาตรประมาณค่า
การทําแฟ้มสะสมผลงาน
การสังเกต
ทฤษฎีลําดับขั้นจิตพิสัยของแครธโวธและคณะ
การรู้คุณค่าหรือค่านิยม
3.2การชื่นชอบคุณค่า
3.3การยินยอมรับ
3.1การรับรุ้คุณค่า
การจัดระบบคุณค่า
4.2การจัดระบบคุณค่าของค่านิยม
4.1การสร้างมโนภาพของคุณค่า
การตอบสนอง
2.2ความเต็มใจที่จะตอบสนอง
2.1การยินยอมในการตอบสนอง
2.3ความพึงพอใจในการตอบสนอง
5.การสร้างลักษณะนิยม
5.1การสรุปอ้างอิงนัยทั่วไป
5.2การสร้างลักษณะนิสัย
การรับรู้
1.2ความเต็มใจในการรับ
1.3ควบคุมหรือคัดเลือกความเอาใจใส่
1.1การรู้จัก