Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มีการเจ็บป่วยทางจิตเวช…
บทที่ 4 การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มีการเจ็บป่วยทางจิตเวช ภาวะออทิซึมสเปกตรัม
ความหมายของภาวะออทิซึมสเปกตรัม
กลุ่มโรคที่มีความผิดปกติของพัฒนาการทางระบบประสาท
มีความบกพร่องของพัฒนาการด้านปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
การสื่อสาร
ความสนใจหมกหมุ่นในบางเรื่อง มีพฤติกรรมซ้ำๆ
ลักษณะอาการและอาการแสดง ของภาวะออทิซึมสเปกตรัม
1) มีความบกพร่องด้านการสื่อสาร
และด้านปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
มีความผิดปกติทางอารมณ์และทางสังคม เช่น ไม่สบตา
มีความบกพร่องด้านการสื่อสาร เช่น มีความบกพร่องในการเข้าใจภาษาและการใช้ภาษากายในการสื่อสาร
มีความบกพร่องในการสร้าง รักษา และเข้าใจในสัมพันธภาพ เช่น
มีความผิดปกติในการเข้าหาหรือเริ่มต้นมีปฏิสัมพันธ์บุคคลอื่น
2) มีแบบแผนพฤติกรรมที่จำกัดซ้ำๆ (stereotyped)
มีการแสดงกิริยาบางอย่างซ้ำ (mannerism) เช่น การสะบัดมือ
ยึดติดกับสิ่งเดิม กิจวัตรประจำวันเดิม
มีความสนใจที่จำกัดในขอบเขตที่จำกัดหรือเฉพาะเจาะจง
มีการตอบสนองต่อการรับสัมผัสสิ่งเร้าที่เข้ามากระตุ้น
การบำบัดรักษาภาวะออทิซึมสเปกตรัม
1) การรักษาทางยา
ยา methylphenidate ใช้บรรเทาอาการขาดสมาธิ
ยา haloperidol กับ risperidone ที่ใช้บรรเทาอาการหงุดหงิด พฤติกรรมวุ่นวาย
ยา fluoxetine ใช้บรรเทาอาการซึมเศร้า ลดพฤติกรรมซ้ำๆ
ยา lorazepam ใช้บรรเทาอาการวิตกกังวล
2) พัฒนาทักษะด้านการสื่อสาร ด้วยการทำอรรถบำบัด (speech therapy)
3) พัฒนาด้านทักษะทางสังคม (social skills)
ฝึกเด็กให้ใช้ภาษาทางกายให้เหมาะสม
สบสายตาบุคคลอื่นเวลาต้องการสื่อสาร
กระตุ้นความเข้าใจในอารมณ์ทั้งของตนเองและผู้อื่น
4) พฤติกรรมบำบัด (behavioral therapy)
การส่งเสริมพฤติกรรมที่เหมาะสม
การหยุดพฤติกรรมที่เป็นปัญหา
การสร้างพฤติกรรมใหม่ที่ต้องการ
5) การบำบัดทางความคิด และพฤติกรรม
6) ศิลปะบำบัด (art therapy)
เพื่อช่วยส่งเสริมการพัฒนาการด้านอารมณ์
ช่วยพัฒนาด้านจิตใจ
เสริมสร้างสมาธิ สร้างจินตนาการ
7) ดนตรีบำบัด (music therapy)
เพื่อพัฒนาทักษะที่จำเป็นในการสร้างปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
ฝึกการแสงออกทางด้านอารมณ์ทางสังคม
ส่งเสริมการสื่อสารโดยการใช้ภาษาทั้งวัจนภาษา และอวัจนภาษา
ให้ดียิ่งขึ้น