Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Fluid and Electrolyte Disturbance - Coggle Diagram
Fluid and Electrolyte Disturbance
น้ําในร่างกาย (Body fluid)
ร่างกายมีส่วนสาคัญ 2 ส่วน คือ นา หรือ total body water (TBW) และ ส่วนที่
ไม่ใช่นาหรือ solid part ซึ่งได้แก่เนื้อเยื่อและแร่ธาตุ
การรักษาสมดุลน้ําในร่างกาย
กลไก
Thirst center
hypothalamic osmoreceptors ท่ี เช่ือมต่อกับ cerebral cortex การ เปลี่ยนแปลงของ osmolality เพียง ร้อยละ 1-2 ก็สามารถกระตุ้นthirst center ได้ เมื่อ osmolality เพิ่มขึน จะกระตุ้นให้มีการดื่มน้ำมากขึ้น
Osmoreceptors
hypothalamus เม่ือ osmolality เพิ่มข้ึนจะกระตุ้นการหลั่ง antidiuretic hormone (ADH) โดยเซลล์ประสาท ใน supraoptic และ paraventricular nuclei ใน hypothalamus ซ่ึง ADH จะจับกับ V2 receptors ใน collecting duct ท้าให้น้้าถูกดูดซึม กลับมากข้ึน ปริมาณปัสสาวะลดลงและปัสสาวะ เข้มข้นขึ้น การเปลี่ยนแปลงของ osmolality เพียง ร้อยละ 1 สามารถกระตุ้นการหลั่ง ADH ได้
1.ADH (antidiuretic hormone)
ปัจจัยที่มีผลต่อการหลั่ง ADH เพิ่ม
Osmolality ของ ECF ที่
เพิ่มขึ้น
Fluid volume ใน ECF ลดลง
อุณหภูมิสูง
การบาดเจ็บท่ีสมอง hypothalamus
Drugs เช่น morphine,
acetaminophen,
ปัจจัยที่มีผลต่อการหลั่ง ADH ลดลง
Fluid volume ใน ECF เพิ่ม
Diabetic insipidus ;DI
Osmolality ของ ECF ท่ีลดลง
Drugs เช่น noradrenaline, phenytoin
2.Aldosterone
เป็น mineralocorticoid สร้างจาก zona glomerulosa ของ adrenal cortex มีบทบาทดูดซึมกลับของนาและ Na+ ท่ี distal tubule
3.Glucoticoid
สร้างจาก zona fasciculata ของ adrenal cortex มีบทบาทเสริม ฤทธิ์ mineralocorticoid ช่วยดูดกลับของนาและ Na+ ที่ distal tubule เช่นกัน
4.Prostaglandin
อยู่ในเนือเยื่อต่างๆของร่างกาย ช่วยให้หลอดเลือดขยายตัว ทาให้มีการ ขับ Na มากขึน
5.การทางานของไต
Fluid volume deficit
Fluid volume deficit (Hypovolemia) คือ ภําวะที่ร่างกายขาดน้ําและ Na แต่ osmolality ยังเท่าเดิม
สาเหตุ
ได้รับนาและ Na น้อยลง ไม่เพียงพอ
มีการสูญเสียออกจากร่างกาย
ภาวะนาตาลในเลือดสูง เกิดภาวะ “osmotic diuresis”
Fluid volume deficit (Hypovolemia)
Hypovolemia
RBF ลดลง
กระตนุ้ RAAsystem
จะได้ ANGII และ Aldosterone
Hyponatremia
สําเหตุ Plasma Na (<135 mEq/L):
ท้องเสีย อําเจียนมําก : ทำให้ Na ต่ำ ส่งผลให้ osmolality ลดลง น้ําจึงเคลอ่ื นจํากนอกเซลล์ไปในเซลล์ เกิดควํามไม่สมดุลของ osmolality ผลสุดท้ําย เซลล์บวม :
สาเหตุภาวะ hyponatremia
Pseudohyponatremia: Na ต่าปลอมเพราะมี สารอื่นสูงในเลือด เช่น
lipid สูง, proteinสูง แต่ effective plasma osm คงเดิม
ภาวะ hyperglycemia: ที่ plasma glucose สูงมาก จะได้ค่า Na ต่า
จริง และ plasma osm เพิ่ม
เกิดจากขาด Na: (โรคไต, ท้องเดิน, ยา, น้ำเกิน)
อาการแสดง
เกิดอาการทางระบบประสาท คือ รายท่ี Na ต้่ารุนแรง (Na<115 mEq/L) จะมีอาการเพ้อ ชัก หมดสติ
การรักษา
ให้ NaCl ทางปากหรือสายให้อาหาร
ให้สารนาทางหลอดเลือดดา คือ 0.9% NSS, 3%NaCl (ระวังการให้มากอาจเกิด
pulmonary edema ได)
ประเมินสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว
Potassium
กํารปรับระดับ K ให้ปกติ (cations อิสระ) เกิดจากการทำงานของ insulin, aldosterone, catecholamine
กํารรักษําสมดุล Potassium: insulin
Hypokalemia
ระดับ K ในเลือด <3.5 mEq/L แบ่งได้ 3 ระดับ
ระบบกล้มาเนื้อ: ตะคริว กล้ามเนื้อเนืออ่อนแรงท่ีขํา, deep tendon reflex ลดลงหรือไม่มี เกิด flaccid paralysis
กํารรักษํา Hypokalemia
Moderate to severe hypokalemia ≤2.5 mEq/L) ให้ KCL(20-40 mEq/L)+ NSS drip ทําใหระดับ plasma potassium ข้ึนประมําณ 0.1 mEq/L
Mild hypo K ให้ E. KCl oral, แนะนํารับประทํานอําหํารท่ีมี K สูง เช่น กล้วยส้ม องุ่น
แอปเปิ้ล ลูกเกด (ผักผลไม้) เน้นผักใบเขียว
Hyperkalemia
K ปกติ =3.5-5.5 mEq/L
สําเหตุเกิดจําก
ได้รับ K มากเช่น กํารได้รับเลือด, กํารได้รับยําแก้ไอ
การเคลื่อนของ K ออกนอกเซลล์มาก
ภาวะ pseudohyperkalemia
อํากํารแสดง: อําเจียน, ท้องผูก, กล้ํามเนือกระตุก,
deep tendon reflex ไว > 2+ กรณี K > 7 mEq/L (severe hyper K) จะมี EKG แบบ Tall peak T wave, wide QRS prolonged PR interval (1st degree AV block) หัวใจเต้นช้ํา อําจหยุดเต้น (stand still) และตํายได้